สุคนฺธนฺหานิย : (นปุ.) สบู่หอม.
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
ธิกฺกต : ค. ซึ่งสบประมาท, เกลียดชัง, ทำให้เลวลง, น่าติเตียน
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
นิลฺลป : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ปราศจากการสบประมาท
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
ปริภูต : กิต. ดูหมิ่นแล้ว, สบประมาทแล้ว, ฉิบหายแล้ว
วมฺภน : นป.,- นา อิต. การเย้ยหยัน, การสบประมาท
วมฺภิต : กิต. สบประมาทแล้ว, เย้ยหยันแล้ว
วมฺภี : ค. ผู้สบประมาท, ผู้เย้ยหยัน
วมฺเภติ : ก. สบประมาท, เย้ยหยัน
อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อปฺปติกุฏฺฐ : ค. ไม่สบประมาท, ไม่รังเกียจ
อวญฺญาต, อวญฺญต (อุญฺญาต) : กิต. ถูกดูถูกแล้ว, ถูกสบประมาทแล้ว
อวญาต : กิต. ดูถูกแล้ว, สบประมาทแล้ว
อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
อวมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การสบประมาท
อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ;
๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์