Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สภาพคลอง, สภาพ, คลอง , then คลอง, สภาพ, สภาพคลอง, สภาว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สภาพคลอง, 81 found, display 1-50
  1. ขาตุตหุ : นป. คู, คลอง
  2. นิทฺธมน : นป., นิทฺธมนา อิต. การขจัดออก, การระบายออก, การทดน้ำ; คลอง, เหมือง
  3. ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
  4. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  5. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  6. นกฺขตฺตปถ : (ปุ.) ทางแห่งนักษัตร, คลอง แห่งนักษัตร, อากาศ.
  7. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  8. มาตี : (อิต.) ทางน้ำ, ฯลฯ, คลอง.
  9. อาปาถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไป, คลอง.
  10. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  11. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  12. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  13. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  14. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  15. กายสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งกาย, สังขาร คือกาย.
  16. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  17. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  18. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  19. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  20. คุณธมฺม : (ปุ.) สภาพผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ธรรมคือความดี, ธรรมเป็นความดีเท่านั้น, ธรรมอันเป็นความดี.
  21. จกฺขุปถ : ป. คลองแห่งจักษุ, วิถีแห่งจักษุ, ทัศนวิสัย
  22. จิตฺตสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งซึ่งจิต, ความปรุงแต่งแห่งจิต, สภาพผู้ปรุงแต่งจิต.
  23. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  24. เจตภูต : (ปุ.) สภาพผู้คิด.
  25. เจโตปริจฺจ : นป. ความยักเยื้องแห่งจิต, ความเป็นไปต่างๆ แห่งจิต, สภาพของจิต, อุปนิสัย
  26. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  27. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  28. ญาณปถ : ป. คลองแห่งญาณ, แนวทางแห่งความรู้
  29. ฐานานุรูป : (วิ.) ควรแก่ตำแหน่ง, สมควรแก่ ตำแหน่ง, สมควรแก่ฐานะ, เหมาะแก่ ฐานะ, ฐานานุรูป ( ควรสมควรแก่สภาพ ของตน ).
  30. ทาสพฺยตา : อิต. สภาพความเป็นทาส
  31. ทาสิตฺต : นป. ความเป็นนางทาสี, สภาพของทาสหญิง
  32. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  33. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  34. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  35. ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
  36. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  37. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  38. ภินฺนตฺต, ภินฺนภาว : นป., ป. สภาพที่แตก, สภาพที่ทำลาย
  39. เภม : (ปุ.) สภาพอันสัตว์พึงกลัว. ภี ภเย, โม.
  40. : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
  41. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  42. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  43. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  44. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  45. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  46. ยนฺต : (วิ.) คล่อง, เร็ว, สะดวก,ง่าย.
  47. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  48. สีฆ : (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ไว, ฉับไว, ว่องไว, ด่วน, เชี่ยว. วิ. เสติ ลหุ ํ หุตฺวา ปวตฺตตีติ สีฆํ. สิ คติยํ, โฆ, ทีโฆ. จ.
  49. สีฆตุถ : (วิ.) คล่อง, ฯลฯ, เชี่ยว, ฉลาด, ขยัน.
  50. สุธมฺมา : (อิต.) สุธรรมา ชื่อสภาพพระอินทร์. วิ. โสภโน ธมฺโม อสฺสาติ สุธมฺมา.
  51. [1-50] | 51-81

(0.0545 sec)