Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สภาวศรษฐกจ, สภาว , then สภาพ, สภาพศรษฐกจ, สภาว, สภาวศรษฐกจ, สภาวะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สภาวศรษฐกจ, 65 found, display 1-50
  1. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  2. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  3. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  4. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  5. สุภาว : (ปุ.) ความเห็นดี, ความมีดี, ความเกิดดี, ความเรียบร้อย, ความอ่อนโยน, ความละมุนละม่อม, สุภาพ.
  6. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  7. สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
  8. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  9. กมฺมนานตฺต : นป. สภาวกรรมมีอย่างต่างๆ กัน
  10. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  11. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  12. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  13. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  14. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  15. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  16. กายสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งกาย, สังขาร คือกาย.
  17. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  18. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  19. คุณธมฺม : (ปุ.) สภาพผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ธรรมคือความดี, ธรรมเป็นความดีเท่านั้น, ธรรมอันเป็นความดี.
  20. จิตฺตสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งซึ่งจิต, ความปรุงแต่งแห่งจิต, สภาพผู้ปรุงแต่งจิต.
  21. เจตภูต : (ปุ.) สภาพผู้คิด.
  22. เจโตปริจฺจ : นป. ความยักเยื้องแห่งจิต, ความเป็นไปต่างๆ แห่งจิต, สภาพของจิต, อุปนิสัย
  23. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  24. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  25. ฐานานุรูป : (วิ.) ควรแก่ตำแหน่ง, สมควรแก่ ตำแหน่ง, สมควรแก่ฐานะ, เหมาะแก่ ฐานะ, ฐานานุรูป ( ควรสมควรแก่สภาพ ของตน ).
  26. ทาสพฺยตา : อิต. สภาพความเป็นทาส
  27. ทาสิตฺต : นป. ความเป็นนางทาสี, สภาพของทาสหญิง
  28. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  29. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  30. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  31. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  32. ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
  33. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  34. ภินฺนตฺต, ภินฺนภาว : นป., ป. สภาพที่แตก, สภาพที่ทำลาย
  35. เภม : (ปุ.) สภาพอันสัตว์พึงกลัว. ภี ภเย, โม.
  36. : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
  37. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  38. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  39. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  40. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  41. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  42. มิจฺฉตฺตนิยตธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและธรรมเป็นนิยตะ, ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอน ได้แก่ อนันตริยกรรมและนิยตมิจฉาทิฏฐิ. ไตร. ๓๓.
  43. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  44. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  45. สีล : (นปุ.) สภาวะ, ธรรมชาติ, ปกติ. สีลฺ สมาธิมฺหิ, อ.
  46. สุธมฺมา : (อิต.) สุธรรมา ชื่อสภาพพระอินทร์. วิ. โสภโน ธมฺโม อสฺสาติ สุธมฺมา.
  47. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  48. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  49. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  50. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  51. [1-50] | 51-65

(0.0641 sec)