Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สภาวะแวดล้อม, แวดล้อม, สภาวะ , then แวดล้อม, สภาว, สภาววดลอม, สภาวะ, สภาวะแวดล้อม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สภาวะแวดล้อม, 39 found, display 1-39
  1. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  2. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  3. ปริกฺขิปติ : ก. ล้อม, แวดล้อม
  4. สมฺปริวาเรติ : ก. แวดล้อม
  5. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  6. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  7. จตุรงฺคเสนาปริวุต : (วิ.) ผู้อันเสนามีองค์สี่ แวดล้อมแล้ว.
  8. ชาลากุล : ค. ซึ่งมีเปลวไฟแวดล้อม, ซึ่งแวดล้อมด้วยเปลวไฟ
  9. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  10. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  11. ปริกฺขิตฺต : กิต. ล้อมแล้ว, แวดล้อมแล้ว
  12. ปริชน : (ปุ.) ชนผู้แวดล้อม, ชนผู้ข้างเคียง, ชนผู้เป็นบริวาร, ชนข้างเคียง, ชนผู้เป็น บริวาร. ปริวาร+ชน ลบ วาร.
  13. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  14. ปริพฺพุฬฺห : กิต. แวดล้อมแล้ว, ล้อมรอบแล้ว
  15. ปริวาร : ป. ผู้แวดล้อม, คนติดตาม, ของสมทบ
  16. ปริวาริต : กิต. แวดล้อมแล้ว, ติดตามแล้ว
  17. ปริวาเรติ : ก. แวดล้อม, ติดตาม
  18. ปริวุต : กิต. แวดล้อมแล้ว
  19. ปาริสชฺช : ค. ผู้เป็นบริวาร, ผู้แวดล้อม
  20. พฺยามปฺปภาปริกฺขิต : (วิ.) อันแวดล้อมแล้วด้วยรัศมีมีวาหนึ่งเป็นประมาณ. หนึ่งเป็นคำเหน็บเข้ามา.
  21. มหาภิกฺขุสงฺฆปริวุต : (วิ.) ผู้อันหมู่แห่งภิกษุใหญ่แวดล้อมแล้ว.
  22. มิจฺฉตฺตนิยตธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและธรรมเป็นนิยตะ, ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอน ได้แก่ อนันตริยกรรมและนิยตมิจฉาทิฏฐิ. ไตร. ๓๓.
  23. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  24. สปริวาร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยบริวาร, มีบริวาร, มีผู้แวดล้อม, มีผู้ห้อมล้อม. วิ.สห ปริวาเรหิ วตฺตตีติ สปริวาโร.
  25. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  26. สีล : (นปุ.) สภาวะ, ธรรมชาติ, ปกติ. สีลฺ สมาธิมฺหิ, อ.
  27. อนุปริวาเรติ : ก. แวดล้อม, ห้อมล้อม
  28. อมจฺจสหสฺสปริวุต : (วิ.) ผู้อันพ้นแห่งอมาตย์แวดล้อมแล้ว.
  29. อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
  30. อุปาทิ : (อิต.) ธรรมชาติอันตัณหาเป็นต้นถือ เอาสภาวะเป็นผลของตน, ธรรมชาติอันตัณหาเป็น ต้นเข้าไปถือเอา,ธรรมชาติผู้เข้าไปถือเอา (ขันธปัญจกะ), สังโยชน์. อุป อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อิ.
  31. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  32. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  33. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  34. สุภาว : (ปุ.) ความเห็นดี, ความมีดี, ความเกิดดี, ความเรียบร้อย, ความอ่อนโยน, ความละมุนละม่อม, สุภาพ.
  35. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  36. สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
  37. กมฺมนานตฺต : นป. สภาวกรรมมีอย่างต่างๆ กัน
  38. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  39. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  40. [1-39]

(0.0628 sec)