Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สมัครเล่น, สมัคร, เล่น , then ลน, เล่น, สมคร, สมคฺร, สมครลน, สมัคร, สมัครเล่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สมัครเล่น, 109 found, display 1-50
  1. ลสติ : ก. ส่องแสง; เล่น
  2. สมปฺเปติ : ก. ยื่นให้, สมัคร
  3. กีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา, ร่าเริง
  4. ทิพฺพติ : ก. เล่น, บันเทิง, รื่นเริง
  5. อภิกีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา
  6. ลาลน : นป. การเล่นสนุก, การขับกล่อม
  7. กิฬน กีฬน : (นปุ.) การเล่น, กีฬา, กรีฑา. กิฬฺ กีฬฺ กีฬเน, ยุ.
  8. กีฬนก : ๑. นป. เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค. ผู้เล่น
  9. กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
  10. กีฬา : (อิต.) การเล่น, ความซน, กีฬา, กรีฑา. กีฬฺ กีฬเน, อ.
  11. กีฬาโกฬ, โกฬก : นป. ลูกบอล, ลูกกลมสำหรับเล่น
  12. กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
  13. กีฬาปสุต : ค. ผู้ขวนขวายในการเล่น, ผู้ใส่ใจในการกีฬา
  14. กีฬาเปติ : ก. ให้เล่น, ฝึก, ซ้อม
  15. กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
  16. กีฬิต : ๑. นป. ดู กีฬา๒. กิต. อันเขาเล่นแล้ว, อันเขารื่นเริงแล้ว
  17. กุมารกีฬา : อิต. การเล่นของเด็ก, การรื่นเริงของเด็ก, กีฬาเด็ก
  18. เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
  19. เกฬน : (นปุ.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  20. เกฬนา เกฬิ : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  21. เกฬายติ : ก. ปรารถนาจะเล่น, อยากเล่น
  22. เกฬายน : นป. ความปรารถนาจะเล่น, ความอยากเล่น
  23. เกฬิ : อิต. กีฬา, การเล่น; การเยาะเย้ย
  24. ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
  25. ขิฑฺฑรติ : อิต. ความเพลิดเพลินในการเล่น
  26. ขิฑฺฑา : อิต. การเล่น, การร่าเริง, กีฬา
  27. ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
  28. ขิฑา ขิฑฺฑา : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. ขิฑฺ กีฬายํ, อ, โฑ, อิตฺถิยํ อา. ขํ ตุจฺฉํ อิฑฺฑา วาจา เอตฺถาติ ขิฑฺฑา.
  29. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  30. คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
  31. คุฬกีฬา : อิต. การเล่นลูกกลม, การเล่นลูกขลุบ, เล่นลูกบอล
  32. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  33. จิงฺคุลิก : นป. กังหัน (สำหรับเล่น), เครื่องเล่นชนิหนึ่งทำด้วยใบตาลเป็นต้นซึ่งหมุนด้วยแรงลม
  34. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  35. ชูต : (ปุ. นปุ.) การเล่นการพนัน, การพนัน, สกา. วิ. ชวติ เถยฺยํ กโรติ เอเตนาติ ชูตํ. ชุ คติชวเน เถยฺเย วา, โต, ทีโฆ.
  36. ฌานกีฬา : อิต. การเล่นฌาน
  37. ฏฑฺฑรี : อิต. การพูดตลกเล่น
  38. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  39. ทวกมฺม : (นปุ.) การเล่นหัวเราะกัน.
  40. ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
  41. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  42. นกฺขตฺตกีฬน : นป. การละเล่นในงานนักขัตฤกษ์, การเล่นฉลองตามฤดูกาล
  43. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  44. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  45. นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
  46. ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
  47. ปตฺตาฬหก : (ปุ.) การเล่นตวงทรายด้วยใบไม้.
  48. ปตฺตาฬฺหก : นป. ทะนานทำด้วยใบไม้สำหรับเล่นตวงทราย, การเล่นตวงทราย
  49. ปวชฺชน : นป. การออกเสียง, การเล่นดนตรี, การทำให้เกิดเสียงดนตรี
  50. ปุสฺสรถ : (ปุ.) รถพระที่นั่ง มิใช่รถสำหรับออกรบ แต่เป็นรถสำหรับเที่ยวเล่นเป็นต้น, รถที่ตกแต่งในปุสสนักบัตร. ปุสฺ โปสเน, โส.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-109

(0.0663 sec)