Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สมาน , then สมาน, สมานา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สมาน, 18 found, display 1-18
  1. สมาน : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, อันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นอันเดียวกัน, เสมอกัน, เท่ากัน. สมฺ เวลมฺเพ, ยุ. ส. สมาน.
  2. สมานสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ร่วมกันได้, สมานสังวาส ใช้สำหรับพระสงฆ์ในความว่าทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันได้.
  3. สมานฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจร่วมกัน, ฯลฯ.
  4. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  5. สมานสุขทุกฺข : (ปุ.) มิตรผู้มีสุขและทุกข์เสมอกัน, มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์.
  6. อทิสฺสมาน : ค. ไม่ปรากฏ, ซึ่งมองไม่เห็น
  7. สมาน : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่เสมอกัน
  8. อาสมาน : ค. หวังอยู่, ปรารถนาอยู่
  9. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  10. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  11. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  12. หริสฺสวณฺณ : (วิ.) มีสีดังว่าสีแห่งทอง, มีรัศมีอันงามดุจสีแห่งทอง, มีวรรณะเสมอด้วยทอง, มีสีเสมอด้วยทอง, มีผิวงามเหมือนทอง. วิ. หรินา สมาโน วณฺโณ ยสฺสาติ หริสฺสวณฺโณ. แปลง สมาน เป็น ส ซ้อน สฺ.
  13. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  14. ปฏิสนฺธาตุ : ป. เชื่อมสัมพันธ์, ผู้สมาน, ผู้ไกล่เกลี่ย
  15. ปฏิสนฺธาน : นป. การสืบต่อ, การต่อเนื่อง, การสมาน
  16. พิมฺพิกา : (อิต.) ตำลึง, โอฏฺฐ-วณฺณสมาน วณฺณผลตาย พิมฺพิกา.
  17. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  18. มรุ : (ปุ.) เทวดา วิ. ทีฆายุกาปิ สมานา มรนฺติ สีเลนาติ มรุ. มรฺ ปาณจาเค, อุ. ภูเขา, ที่กันดารน้ำ, ทะเลทราย.

(0.0126 sec)