Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สรรเสริญเยินยอ, สรรเสริญ, เยินยอ , then ยนยอ, เยินยอ, สรรสรญยนยอ, สรรเสริญ, สรรเสริญเยินยอ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สรรเสริญเยินยอ, 56 found, display 1-50
  1. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  2. ปริกตฺถน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  3. ปริกตฺถนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  4. กตฺถติ : ก. อวดคุย, สรรเสริญ, ยกย่อง
  5. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  6. ถวติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย, สรรเสริญ, สดุดี
  7. โถเมติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย, สรรเสริญ, สดุดี
  8. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  9. สมุกฺกเสติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ
  10. สิลาฆ : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, อวด.
  11. สิโลก : ป.โศลก; ชื่อเสียง, ฉันท์, สรรเสริญ
  12. อนุคายติ : ก. สวดตาม, สาธยาย, ขับร้อง, สรรเสริญ
  13. อนุตฺถุนาติ : ก. ๑. ยกย่อง, สรรเสริญ ; ๒. ทอดถอนใจถึง, คร่ำครวญถึง
  14. อภิตฺถวติ : ก. ชมเชย, สรรเสริญ, ยกย่อง
  15. อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
  16. อุกฺกสติ, - เสติ : ก. ยกตน, สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี
  17. ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
  18. ถวน : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ.
  19. ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
  20. กิตฺติ : (วิ.) สรรเสริญ, ชม, เล่าลือ.
  21. กิตฺติ, - ตี : อิต. เกียรติ, ชื่อเสียง, การสดุดี, การสรรเสริญ
  22. กิตฺติสทฺท : (ปุ.) เสียงสรรเสริญ, ฯลฯ, เสียง เลื่องลือคุณ.
  23. กิตฺถี : (วิ.) สรรเสริญ, ฯลฯ, อวด. กิตฺ สํสนฺทเน, ถี.
  24. คุณกถา : อิต. การกล่าวถึงคุณ, การกล่าวยกย่อง, การสรรเสริญ, การพรรณนาคุณความดี
  25. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  26. ถว : ป. การยกย่อง, การชมเชย, การสรรเสริญ, การสดุดี
  27. ถุต : กิต. (อันเขา) ยกย่องชมเชยแล้ว, สรรเสริญแล้ว, สดุดีแล้ว
  28. ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
  29. โถม : (ปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  30. โถมน : (นปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  31. โถมนา : (อิต.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
  32. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  33. นวิย : ค. ควรแก่การสรรเสริญ
  34. ปกิตฺติต : กิต. สรรเสริญแล้ว, แสดงแล้ว
  35. ปกิตฺเตติ : ก. สรรเสริญ, แสดง, พูด
  36. ปฏิปสสติ : ก. สรรเสริญตอบ, ยกย่องตอบแทน
  37. ปนูติ : (อิต.) ความชม, ความชมเชย, ความสรรเสริญ. ปปุพฺโพ, นุ ถุติยํ, ติ, ทีโฆ.
  38. ปสสก : ค. ผู้สรรเสริญ, ผู้ยกย่อง, ผู้ชมเชย
  39. ปสสติ : ก. สรรเสริญ, ยกย่อง, ชมเชย
  40. ปสสน : นป., ปสํสา อิต. การสรรเสริญ, การยกย่อง, การชมเชย
  41. ปสสิต : ค. ผู้อันเขาสรรเสริญหรือยกย่อง, ผู้ได้รับการสรรเสริญหรือยกย่อง
  42. ปสสิย : ค. น่าสรรเสริญ, ควรยกย่อง
  43. ปาสส : ค. ได้รับการสรรเสริญ, ควรแก่การสรรเสริญ
  44. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  45. ยญฺญวณฺณ : นป. การสรรเสริญการบูชายัญ
  46. สมฺภาวน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
  47. สมฺภาวนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
  48. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  49. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  50. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  51. [1-50] | 51-56

(0.0642 sec)