ขตุ : (ปุ.) หลุม, บ่อ, สระ, บ่อน้ำ. ขนุ+ตุ ปัจ. ลบ นุ.
ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
ชลาธร : ป. ทะเลสาบ, สระ
ชลาสย : (ปุ.) บ่อ, สระ, ห้วงน้ำ, ทะเล, ทะเล สาบ. วิ. ชลานํ อาสโย. แปลว่า หม้อน้ำ บ้าง. ส. ชลาศย.
ตฏาก : (ปุ.) เหมือง, สระ, สระบัว. ตฏฺ อุสฺสเย, อาโก.
รหท : ป. บึงลึก, ห้วงน้ำลึก, สระ
อมฺพุชากร : (ปุ.) บ่อ, บึง, สระ, ทะเลสาป.วิ.อมฺพุชานํอากโรอุปฺปตฺติฏฺฐานํอมฺพุชากโร.
โอปาต : (ปุ.) บ่อ, สระ, ดอปุพฺโพ, ปา ปาเน, โต.
สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
กณฺณมุณฺฑ : (ปุ.) กัณณมุณฑะ ชื่อสระใหญ่ ๑ ใน ๗ สระ.
กุณาล : (ปุ.) กุณาละ ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. กุณาลสกุณา พหโว เอตฺถ สนฺตีติ กุณาโล. วาตสมุฏฺฐิ ตา วีจิมาลา เอตฺถ กุณนฺติ นทนฺตีติ วา กุณาโล.
ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
นิปาน : (นปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้ สระ. วิ. นิปิวนฺตฺยสฺมินฺติ นิปานํ. นิปุพฺโพ, ปา ปาเน, ยุ. ส. นิปาน.
สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
อุทปาน : (ปุ.) บ่อ, บ่อน้ำ, สระ. วิ. อุทํ ปิวนฺตฺยสฺมินฺติ อุทปาโน. ปา ปาเน, ยุ. ส. อุทปาน.
โอปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, บ่อ, สระ. ยุ ปัจ.
สรสี : (อิต.) สระ, บึง. สรฺ คติยํ, อโส, อิตฺถิยํ อี. ส. สรสี.
ปทุมสร : ป., นป. สระดอกบัว
กมลากร : นป. แหล่งบัว, สระน้ำ
กมลินี : อิต. สระบัว
คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
ชาตสฺสร : ป., นป. สระที่เกิดเอง, สระธรรมชาติ
เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
ตลาก ตฬาก : (ปุ.) สระ, บึง, เหมือง. ตลฺ ปติฏฐายํ ตฬฺ อาฆาเต วา อาโก.
ตฬาก : ป., นป. สระ, ทะเลสาบ
นนฺทา : (อิต.) นันทา ชื่อสระโบกขรณีของ พระอินทร์ วิ. นนฺทียตีติ นนฺทา. นนฺทฺ ธาตุ อ ปัจ. อาอิต.
นลิน นฬิน นฬีน : (ปุ.?)กอบัว,สระบัว.ก้านบัว,สายบัว.
นลินี : อิต. กอบัว, สระบัว, สระน้ำ
นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
ปณาฬี : อิต. ทางน้ำไหลออกจากสระ, ท่อน้ำ
ปทุมินี : อิต. ต้นปทุม, บัวหลวง; สระบัว
ปลฺลล : นป. สระน้อย, ทะเลสาบน้อย
ปุณฺฑรีกินี : อิต. สระบัวขาว
โปกฺขรณี : (อิต.) ตระพัง (บ่อน้ำ กระพัง. สะพังก็เรียก), ตระพังน้ำ (บ่อน้ำ), สระน้ำ, สระน้ำที่ตกแต่งสวยงาม, สระสี่เหลี่ยมจตุรัส, สระมีบัว, สระบัว, สระโบกขรณี. วิ. โปกฺขรํ ชลํ ปทุมญฺจ, ตํโยคา โปกฺขรณี. โปกฺขร+อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ อี อิต.
ภิสินี : (อิต.) สระมีดอกบัว, สระบัว, ความสะดุ้ง.
มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
มหิสฺสร : (ปุ.) มหิสสระ ชื่อพระอิศวรชื่อ ๑ ใน ๖ ชื่อ, พระอิศวร, พระมเหศวร, พระเจ้าแผ่นดิน.
รถการก : ป. ชื่อสระใหญ่
สโรช : (นปุ.) พืชที่เกิดในสระ, บัว, ดอกบัว. ส. สาโรช.
สโรรุห : (นปุ.) พืชที่งอกในสระ, บัว, ดอกบัว. วิ. สรสิ รุหตีติ สโรรุหํ. ส. สโรรุห.
สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
สุนนฺทา : (อิต.) สุนันทา ชื่อสวน ชื่อสระ, พระนางสุนันทา ชื่อพระชายาของพระอินทร์.
อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ
ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
อฑฺฒสร : (ปุ.) เสียงกึ่ง, เสียงครึ่ง, (กึ่งเสียงครึ่งเสียง), อัฒสระ(เสียงกึ่งสระของสระสั้น).พยัญชนะที่เป็นอัฒสระคือยรลวสหฬสันสกฤติอัฒสระมี๔ตัวคือยรลว.ส.อรฺธสร.
อณฺณว : (ปุ.) ทะเล, สมุทร, มหาสมุทร, ละหาน (ห้วงน้ำ), แม่น้ำ, สระน้ำ, วิ.อณฺโณ ยสฺมึ วาตีติ อณฺณโว.วา อณฺณโว วิทฺสตฺตายํ, อ. ลบที่สุดธาตุ และ อิ. ส. อรฺณว
อโธ : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เป็นเหฎฐาตถวาจกนิบาต.รูปฯว่าลงในอรรถสัตมีแปลว่าในเบื้องต่ำ, ฯลฯ.อโธเมื่อใช้เกี่ยวกับอักขระแปลว่าเอาพญัชนะไว้หน้าสระ.
อโนตตฺต : (ปุ.) อโนตาตชื่อสระใหญ่สระหนึ่งในเจ็ดสระซึ่งอยู่ในป่าหิมพานต์, สระอโนตาต.วิ.สุริยรํสิสมฺผุฏฐาภาเวนน อวตปฺปติอุทกเมตฺถาติอโนตตฺโต.
อมฺพุชกร : ป. สระน้ำ, บ่อหรือทะเลสาป