ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
ฉฑฺเฑติ : ก. ทิ้ง,ขว้าง, ซัดไป, สละ
นิสชฺเชติ : ก. ให้, สละ
ปชหติ : ก. ละ, สละ, เว้น
ปรกฺกโรติ : ก. ทำไว้ข้างโน้น, นำออก, กำจัด, สละ, ละเลิก
ปสาเรติ : ก. เหยียดออก, ให้เหยียดออก, สละ, ละทิ้ง
วิชหติ : ก. ละ, สละ
วิสฺสชฺเชติ : ก. ชี้แจง, แก้ไข; สละ
อนุปเวจฺฉติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
สล : (ปุ.) กระต่าย. สลฺ อาสุคติยํ, อ.
จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
วิปฺปชหติ : ก. สละ
โวสฺสชติ : ก. สละ
กามจาคี : ค. ผู้สละกาม, ผู้หลีกจากกาม
คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
จช จชน : (นปุ.) อันสละ, การสละ, การให้, การให้ทาน จชฺ จาเค, อ, ยุ.
จชติ : ก. สละ, บริจาค, มอบให้, ทอดทิ้ง, เลิก
จชน : นป. การสละ, การบริจาค, การเลิก
จตฺต : กิต. (อัน) สละแล้ว, บริจาคแล้ว, เลิกแล้ว
จตฺตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกสละ, ความเป็นสิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, การบริจาค
จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
จาคี : ป., ค. ผู้สละ, ผู้เสียสละ, ผู้ละเลิก, ผู้ให้, ผู้บริจาค
ฉฑฺฑิต : ค. อันเขาทิ้งแล้ว, อันเขาสละแล้ว
ฉฑฺฑิย : ค. อันควรทิ้ง, อันควรสละ
ชีวิตทาน : นป. การให้ชีวิตเป็นทาน, การสละชีวิตเป็นทาน
ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
ทกฺขิเณยฺยคฺคิ : ป. ไฟคือทักขิไณยบุคคล, ไฟหนึ่งในเจ็ดกองที่พุทธมามกะพึงบำรุงบำเรอบ้าง พึงเสียสละบ้าง
ทุจฺจช : ค. ซึ่งสละได้ยาก, ซึ่งละได้ยาก, ซึ่งเลิกได้ยาก
ทุปฺปฎินิสฺสคฺคี : (วิ.) สละคืนได้โดยยาก.
ทุปฺปฏินิสฺสคฺคิย : ค. ซึ่งสละคืนได้ยาก, ซึ่งละเลิกได้ยาก
ธมมจาค : (วิ.) ผู้สละซึ่งธรรม, ผู้ละทิ้งธรรม คือละทิ้งศาสนา ไม่นับถือศาสนา.
ธมฺมจาค : (ปุ.) คนผู้สละซึ่งธรรม, คนผู้สละธรรม, ฯลฯ, การสละซึ่งธรรม, การละทิ้งธรรม.
นนฺทิชห : ป. การละความเพลิดเพลิน, สละความสนุกสนาน
นาสน : (นปุ.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
นาสนา : (อิต.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
นิจฺฉุทฺธ : ค. อัน...ทิ้งแล้ว, ถูกสละแล้ว
นิจฺฉุธติ : ก. โยนออกไป, ทิ้ง, สละเลิก
นิจฺฉุธน : นป. การโยนทิ้ง, สละเลิก, ไล่ออกไป
นิรส : (นปุ.) นิรสะ ชื่อพระนิพพาน, พระ นิพพาน, การสละ, การละทิ้ง, การสละ ตัณหา, การละทิ้งตัณหา. นิปุพฺโพ, อสุ เขเป, อ, รฺอาคโม.
นิวิฏฺฐ : ค. ตั้งมั่นแล้ว, มั่นคงแล้ว, อุทิศหรือสละแล้ว
นิสคฺค : ๑. ป. คนเป็นกันเอง ;
๒. ค. ซึ่งให้, อันสละ
นิสฏฺฐ : ค. อันเขาให้, อันเขาสละแล้ว
นิสฺสคฺค : กิต. สละแล้ว
นิสฺสคฺคิย : ค. ควรเสียสละ
นิสฺสชฺช : กิต. เสียสละแล้ว
นิสฺสชติ : ก. เสียสละ
นิสฺสฏฐ : กิต. เสียสละแล้ว