Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สล , then สล, สฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สล, 58 found, display 1-50
  1. สล : (ปุ.) กระต่าย. สลฺ อาสุคติยํ, อ.
  2. สล สลสลฺลล : (นปุ.) ขนเม่น. สลฺ อาสุคติยํ, อ, อโล. ศัพท์ที่ ๓ สลฺลฺ อาสุคติยํ, อโล.
  3. สลสี : (อิต.) ขนเม่น. สลฺ ธาตุ อล ปัจ. อี อิต.
  4. สลก สสงฺก : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน. วิ สโส อํโก ยสฺส โส สสํโก สสงฺโก วา.
  5. สลขาริก สสงฺขาริก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสังขาร.
  6. มูสล : (ปุ. นปุ.) แปลและธาตุเหมือน มุสล ต่างแต่ทีฆะ อุ ที่ มุ เป็น อู.
  7. สีล : (นปุ.) สภาวะ, ธรรมชาติ, ปกติ. สีลฺ สมาธิมฺหิ, อ.
  8. สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
  9. สล : (ปุ.) มะกอก, มะซาง, มะคำไก่. สิ พนฺธเน, ลุ. สลฺ คติยํ, อุ, อสฺเส.
  10. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  11. กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
  12. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  13. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  14. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  15. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  16. กุสลธมฺม : ป. กุศลธรรม, ธรรมที่เป็นกุศล, ธรรมฝ่ายดี
  17. กุสลปกฺข : ป. ธรรมฝ่ายกุศล
  18. กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
  19. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  20. โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  21. ปทกุสล : ค. ผู้ฉลาดในการสังเกตรอยเท้า, ผู้ฉลาดดูรอยเท้า, ผู้ชำนาญในการตามรอย
  22. มหากุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความเป็นใหญ่, จิตมีความดีมาก, มหากุศลจิต (มี ๘ ดวง).
  23. มุสล : (ปุ. นปุ.) สาก, ตะบอง, ไม้ตะบอง, ตะลุมพุก. มุสฺ ขณฺฑเน เถยฺเย วา, อโล. อถวา, มุสฺ ปาณจาเค.
  24. สุลิ สุลี : (ปุ.) พระอิศวร, พระสุลี, พระศุลี.
  25. สูลี : (ปุ.) สูลี ชื่อพระอิศวร ๑ ใน ๖ ชื่อ, ศุลี (พระอิศวร), พระอิศวร (ผู้มีตรีศูลคือหลาวสามง่ามในมือ). วิ. ติสูลํ อสฺส อตฺถีติ สูลี.
  26. สล : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลา ปจุรา สนฺตฺยสฺมินฺติ เสโล. ณ ปัจ.
  27. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  28. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  29. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  30. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  31. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  32. อกุสลเจตสิก : (ปุ.) เจตสิกธรรมที่เป็นอกุศล, เจตสิกที่เป็นอกุศล.
  33. อกุสลเจตสิกธมฺม : (ปุ.) เจตสิกธรรมอันเป็นอกุศล, อกุศลเจตสิกธรรม มี ๑๔ ดวง คือ โมหะ อหิริกะ อโนตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสามัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และ วิจิกิจฉา.
  34. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  35. อตฺถกุสล : ค. ฉลาดในประโยชน์, ฉลาดในเนื้อความ
  36. อวสล : ค. คนชั่ว, คนถ่อย
  37. อสฺมสารอสล : (ปุ.) เหล็ก.ศัพท์หลังอสุพฺยาปเน, อโล.
  38. รชสฺสล : (อิต.) หญิงมีฤดู, หญิงมีระดู, หญิงถึงผ้า. วิ. รชโยคา รชสฺสลา. สล ปัจ.
  39. สาฬิก : (ปุ.) นกสาฬิกา (ตัวผู้). สลฺ คติยํ, ณิโก, สสฺส หตฺตํ. สฬฺ อพฺยตฺเต สทฺเท วา.
  40. ติณสูล : (นปุ.) มะลิซ้อน วิ. ติณานิ สูลนฺติ ยสฺมึ ตํ ติณสูลํ. สูลฺ รุชายํ, อ. เป็น ติณสุล บ้าง.
  41. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  42. นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
  43. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  44. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  45. สลฺย สลฺล : (นปุ.) แผล, ขวาก, หนาม, ลูกศร, ลูกปืน. วิ. สตฺตานํ สรีเร สลติ ปวีสตีติ สลฺยํ สลฺลํ วา. สลฺ คติยํ, โย, โล วา. สตฺตานํ ชีวิตํ สลยนฺติ กมฺเปนฺติ วิทฺธํเสนฺตีติ วา สลฺยํ สลฺลํ วา. สลฺ จลเน.
  46. สลฺยาณ สลฺลาณ : (ปุ. นปุ.) การไป, การเป็นไป, ความเป็นไป. สลฺ คติยํ, ยาโณ, ลาโณ วา. กัจฯ ๖๓๓ รูปฯ ๖๔๑.
  47. สลาก : (ปุ. นปุ.) หอก, หลาว, ขวากเหล็ก. สลฺ อาสุคติยํ, อาโก.
  48. สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
  49. สลิล : (นปุ.) น้ำ วิ. สลตีติ สลิลํ. สลฺ คติยํ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. สลิล.
  50. สาลว สาฬว : (ปุ.) โลท. ต้นโลท. วิ. สลติ ปวตฺตีติ สาลโว สาฬโว วา. สลฺ คมเน, อโว. แกงอ่อม ต้มยำ ก็แปล ?.
  51. [1-50] | 51-58

(0.0176 sec)