Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สวด , then สวด, สวต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สวด, 60 found, display 1-50
  1. ปฐติ : ก. อ่าน, ท่อง, สวด
  2. ปวชฺชติ : ก. ออกเสียง, สวด,ร้อง
  3. ภณติ : ก. กล่าว, สวด
  4. สงฺคายติ : ก. ขับกล่อม, สวด, ร้อยกรอง, ซักซ้อม
  5. อุทาหรติ : ก. เปล่ง, สวด, ยกมาอ้าง
  6. อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  7. กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
  8. ชาป : ป. คำสวด, คำแช่ง, คำด่า
  9. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  10. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  11. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  12. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  13. ธม, ธมก : ค. ผู้เป่า, ผู้ออกเสียง, ผู้สวด
  14. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  15. ปฐน : นป. การอ่าน, การท่อง, การสวด
  16. ปทภาณ : ป. การกล่าวบท, การขานด้วยบท, การสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  17. ปทภาณก : ค. ผู้กล่าวหรือสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  18. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  19. ปาฏิโมกฺข : ป., นป. พระปาฏิโมกข์, ธรรมเป็นที่อาศัยให้พ้นจากอาบัติ; พระคัมภีร์รวบรวมพระวินัยที่เป็นหลักของภิกษุไว้และต้องสวดในที่ชุมนุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือนเพื่อทบทวนข้อปฏิบัติและสำรวจตนเองว่าได้ปฏิบัติตนเองตามพุทธบัญญัติหรือไม่
  20. ปาฏิโมกฺขฐปน : นป. การหยุดสวดปาฏิโมกข์
  21. ปาฏิโมกฺขุทฺเทส : ป. การสวดปาฏิโมกข์, การแสดงปาฏิโมกข์
  22. ปาฏิโมกฺขุทฺเทสก : ค. ผู้สวดปาฏิโมกข์, ผู้แสดงปาฏิโมกข์
  23. พฺราหฺมณวาจนก : นป. การบอกคัมภีร์พระเวทโดยพราหมณ์, หอสวดมนต์ของพราหมณ์
  24. พุทธคุณ : (ปุ.) คำกล่าวพรรณ นาคุณของพระพุทธเจ้า, คุณของพระพุทธเจ้า, พระพุทธคุณ. บทสวดสรรเสริยพระพุทธคุณ คือ อิติปิ โส ภควา ฯลฯ พุทฺโธ ภควาติ.
  25. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  26. โพชฺฌงฺค : (ปุ.) ธรรมเป็นองค์แห่งธรรมเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นองค์แห่งญาณเครื่องตรัสรู้, โพชฌงค์ ชื่อ พระปริตรที่พระสงฆ์สวดให้คนเจ็บไข้ฟัง มีธรรมะ ๗ ข้อ.
  27. ภณิต : กิต. กล่าวแล้ว, สวดแล้ว
  28. ภาณ : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การพูด, การสวด. ภณฺ สทฺเท, โณ.
  29. ภาณวาร : ป. ข้อธรรมที่จัดไว้สำหรับสวด, หมวดหนึ่งมี ๘,๐๐๐ อักษร
  30. มญฺชุภาณก : ค. ผู้สวดไพเราะ
  31. มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
  32. วาจน : นป. การกล่าว, การสวด, การอ่าน
  33. วาจนก : นป. ที่เป็นที่สวด
  34. สงฺคีติ : อิต. การขับกล่อม, การสวด, การร้อยกรอง, การซักซ้อม
  35. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  36. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  37. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  38. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  39. อชฺเฌน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเรียน, การเล่าเรียน, การท่อง, การสวด, การศึกษา.อธิ+อ+ยุแปลงอธิเป็นอชฺฌอิเป็นเอยุเป็นอน.
  40. อชฺเฌยฺย : (วิ.) ฟังสวด, ฯลฯ.อธิปุพฺโพ, อิ อชฺฌายเน, โณฺย. แปลงอธิเป็น อชฺฌอิ เป็น เอย เป็น ยฺย.
  41. อญฺชลิกรณียอญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์)ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ.วิ. อญฺชลิกรณิโยยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุลอญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย.ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. อญฺชลิกมฺมํกรณํอญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํอญฺชลิกรณํอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.อียปัจ.ฐานตัท.ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺสอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำวิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติอญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำโดยไม่หักวิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็นอญฺชลิกรณีโยแต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์เป็นอญฺชลีกรณิโยพึงสวดให้ถูกต้องด้วย.
  42. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  43. อณอณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย.อณฺสทฺเท, ศัพท์หลังกสกัด.
  44. อณ อณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย. อณฺ สทฺเท, ศัพท์หลัง ก สกัด.
  45. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  46. อนุกสฺสติ : ก. ๑. สวด, สาธยาย, อ้าง; ๒. คร่าออก, ฉุดออก, ดึงออก
  47. อนุคายติ : ก. สวดตาม, สาธยาย, ขับร้อง, สรรเสริญ
  48. อนุสาวนา : (อิต.) อนุสาวนาชื่อคำสำหรับสวดในสังฆกรรมที่เป็นญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรม.
  49. อพฺภาน : (นปุ.) การเรียกเข้า, การชักกลับมา, การรับรอง, ความรับรอง, อัพภาน.การสวดเมื่อภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งได้ประพฤติมานัสครบ๖ราตรีหรือประพฤติมานัสและอยู่ปริวาสแล้วเพื่อให้กลับเป็นผู้บริสุทธิ์เรียกว่าสวดอัพภาน.
  50. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  51. [1-50] | 51-60

(0.0103 sec)