Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สสิ , then ศศิ, สส, สสิ, สสี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สสิ, 42 found, display 1-42
  1. สสิ สสิธร สสี : (ปุ.) พระจันทร์, ฯลฯ.
  2. สสี : ป. พระจันทร์
  3. สส : (ปุ.) กระต่าย. สสฺ ปฺลุตคติยํ สุสสเน วา, อา.
  4. สสก : ป. พระจันทร์
  5. สสธร : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน.
  6. สสสุร : (ปุ.) พ่อตา, พ่อผัว.
  7. สึส : (นปุ.) รวง เช่นรวงข้าว. สิสฺ ปตฺถายํ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  8. สุสิ : (อิต.) ช่อง, รู โพรง. สุสฺ โสสเน, อิ. สสฺ คติยํ, อสฺส.
  9. สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
  10. เสส : (วิ.) เหลือ, เกิน. สิสฺ อสพฺพปฺปโยเค, โณ.
  11. โสส : (ปุ.) โรคผอมแห้ง, โรคฝีในท้อง, โรคปอด, วัณโรคในปอด, หืด, ไอ, มองคร่อ ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีเสมหะแห้งอยู่ในลำหลอดปอด. วิ. รสาทิสตฺตธาตุโย โสสยตีติ โสโส. สุสฺ โสสเน, โณ.
  12. ปณฺณสุส, - โสส : ค. ซึ่งทำด้วยใบไม้แห้ง
  13. สีส : ป. ศีรษะ, หัว, ยอด, หัวข้อ
  14. สุสี : ป. รู ; ช่อง, โพรง
  15. เสสุ : (นปุ.) หมาปราง, มะปราง?.
  16. กาส : (ปุ.) โรคไอ วิ. กาสตีติ กาโส. กาสฺ สทฺทกุจฺฉายํ, โณ. กุจฺฉิตํ สสตีติ วา กาโส. กุจฺฉิตปุพฺโพ, สสฺ ปาณเน, โณ, สฺโลโป. การไอ วิ. กาสนํ กาโส. ส. กาศ, กาส.
  17. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  18. ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
  19. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  20. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  21. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  22. นมสฺสา : (อิต.) การนอบน้อม, ฯลฯ, นมสฺสฺ วนฺทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. นมุ นมเน วา, สฺโส, อสฺโส วา. ฎีกาสารัตถชาลินี.
  23. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  24. พฺรหฺมทตฺติย : (วิ.) อันพรหมใช้แล้ว วิ. พฺรหฺมุนา ทินฺโน พฺรหฺมทตฺติโย. ทินฺนสทฺท- สฺส ทตฺติยภาโว.
  25. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  26. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  27. สสน : (นปุ.) การเป็นอยู่, การมีชีพอยู่. สสฺ ปาณเน, ยุ. การเบียดเบียน, การฆ่า, การฆ่าฟัน. สสฺ หึสายํ, ยุ.
  28. สสฺส : (นปุ.) ข้าว, ข้าวกล้า. วิ. สสนฺติ สตฺตา เอเตนาติ สสฺสํ. สสฺ ปาณเน, โส. เขตฺเต เสติ รูหตีติ วา สสฺสํ. สปุพฺโพ, สิ วุทฺธิยํ, อ. สฺสํโยโค.
  29. สสฺสุ : (อิต.) แม่ผัว, แม่ยาย. สสฺ หึสามาเนสุ, สุ. ชายาปตีนํ ทฺวินฺนํ ชนนี มาตุ สสฺสุ.
  30. สสุร : (ปุ.) พ่อผัว, พ่อตา. สสฺ คติหึสาปาณเนสุ, อุโร.
  31. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  32. สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
  33. สึสปา : (อิต.) ประดู่ลาย. สิสฺ ปตฺถายํ, อโป, นิคคฺหิตตาคโม.
  34. สุกฺข : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, แล้ง, สุสฺ โสสเน, โต. แปลง ต เป็น กฺข ลบที่สุดธาตุ รูปฯ ๖๐๑.
  35. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  36. เสฎฐ : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, สิ่งอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, ทรัพย์. สิสฺ อิจฺฉายํ, โต, ตสฺส ฎฺโฐ, สฺโลโป, อิสฺเส.
  37. โสต : (วิ.) อันยังกิเลสให้แห้ง วิ. กิเลเส โสสาเปตีติ โสโต. สุสฺ โสสเน, โณ, อุสฺโส, สสฺส โต. อันกำจัดกิเลส วิ. สุนาติ กิเลเส หึสตีติ โสโต. สุ คติยํ, โต. ถึงซึ่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพฺพานํ คจฺฉตีติ โสโต. ถึงซึ่งพระกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพพานโสตํ คจฺฉตีติ โสโต.
  38. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  39. อริส : (นปุ.) ริดสีดวงงอก, ริดสีดวงทวาร.วิ.อริวิยสสตีติอริสํ.อริปุพฺโพ. สสฺ หึสายํ, กฺวิ.อรฺคมเนวา, อิโส.
  40. อาสึสฏฺฐ : (ปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  41. อาสึสน : (นปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  42. อาสึสนา : (อิต.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  43. [1-42]

(0.0662 sec)