อปางฺค : (ปุ.) ดิลก (รอยเจิมที่หน้าผาก), ไฝ, ที่สุดแห่งตา, หางตา.วิ.สรีรงฺคสํขาตสฺสกณฺณสฺสอปสมีปํอปางฺโคส.อปางฺค.
ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
นิติปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้ในกฎหมาย, นักปราชญ์ทางกฎหมาย, เนติบัณฑิต ใช้ เรียกผู้ที่สอบได้ปริญญาทางกฎหมาย.
ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
ปวิจย : ป. การสอบสวน, การตรวจสอบ, การพิจารณา, การใคร่ครวญ
มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
สนฺธารก : ค. ผู้ทรงไว้, ผู้สอบทาน
สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
สนฺนิรุมฺภน : นป. การยับยั้ง, การสอบทาน, การระงับ, การปราบปราม
อุปปริกฺขติ : ก. เห็นรอบ, พิจารณา, สำรวจ, สอบทาน
อุปปริกฺขี : ค. ผู้ตรวจสอบ, ผู้ไต่สวน