ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
ลมฺพ : ค. ห้อย, แขวน
ลมฺพติ : ก. ห้อย, แขวน
วิลมฺพติ : ก. เชือนแช, ชักช้า, ห้อย, แขวน
อชฺโฌลมฺพติ : ก. ห้อย, แขวน
อาลี : อิต. หญิงสหาย; สะพาน; เขื่อน
โอลคฺเคติ : ก. ห้อย, แขวน; มัด; ยับยั้ง
โอลมฺพติ : ก. ห้อยลง, แขวน, เกาะ
กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
ธุวเสตุ : ป. สะพานประจำ, สะพานถาวร (ซึ่งยื่นไปยังแม่น้ำลำคลอง ฯลฯ เช่น สะพานท่าน้ำหรือท่าเรือ)
นลเสตุ : ป. สะพานไม้อ้อ
นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
นิยฺยุหก : (ปุ.) หลัก, หลักติดไว้สำหรับแขวน หมอก.
นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
พฺยาลมฺพ : (วิ.) แขวน, ลอย, มีประการต่างๆ. วิ อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
ลมฺพก : นป. ของที่ห้อยหรือแขวน
ลมฺเพติ : ก. ให้ห้อย, ให้แขวน
วิลมฺพน : นป. การเชือนแช, การห้อย, การแขวน
อนาลมฺภ : ค. ไม่ลอย, ไม่แขวน
อเวหาสกุฏิ : อิต. กุฎีไม่เป็นร้าน, กุฎีที่ไม่แขวนอยู่ในอากาศ คือ กุฎีไม่สูง
อาลคฺเคติ : ก. คล้องไว้, แขวนไว้, ติดไว้; ให้แขวนไว้, ให้ติดไว้
อาลมฺพติ : ก. แขวน, หน่วงไว้, ยึด, ห้อย, เกาะเกี่ยว
อาลมฺพน : นป. อารมณ์, การยึดอารมณ์, การแขวน, การห้อย
อุตฺตารเสตุ : ป. สะพานสำหรับข้ามแม่น้ำ
อุพฺพนฺธติ : ก. แขวน, ห้อย
อุพฺพนฺธน : นป. การห้อย, การผูก, การแขวน
โอลมฺพ : ค. ซึ่งห้อย, ซึ่งแขวน
โอลมฺพน : นป. การห้อย, การแขวน
พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
กณฺฑุ (ฑู) วติ : ก. เกา, ข่วน
ขุรติ : ก. ตัด, โกน, ข่วน
พฺยาวจฺจ : (นปุ.) ความขวน ขวาย, ความกระตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วจฺจ อชฺฌายเน, อ.
อุปลิกฺขติ : ก. ข่วน, ขีด, เกา, ทำให้บาดเจ็บ