จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
นิจิต : (วิ.) สะสมแล้ว, สะสม, หอมยับ (รวม เก็บไว้).
ปริจินาติ : ก. ประพฤติรอบคอบ, สะสม, ตั้งใจ, เคยชิน
วิจินาติ : ก. ค้นคว้า, สะสม
สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
สญฺจินาติ : ก. สะสม
กมฺมุปจย : ป. การสะสมกรรม, การก่อสร้างกรรม
กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
คนฺธสนฺนิธิ : ป. การสะสมของหอม
จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
จิตกา : (อิต.) ทราย (ไหลมาสะสม).
จิติ : อิต. ความสั่งสม, ความสะสม; กอง, ก้อน
จิน : (นปุ.) การก่อ, การก่อสร้าง, การสะสม, การสั่งสม. จิ จเย, ยุ.
เจยฺย : (วิ.) อัน...พึงสะสม. จิ จเย, โณฺย.
นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
นิจินาติ : ก. สะสม, รวบรวม, ก่อ
นิสงฺขิติ : อิต. การสะสม, การสั่งสม
ปจินาติ : ก. สะสม, ก่อ, เก็บ
ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
ปริจิณฺณ : กิต. ประพฤติรอบคอบแล้ว, สะสมแล้ว, ตั้งใจแล้ว, เคยชินแล้ว
ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
โพธิสมฺภาร : (ปุ.) บารมีธรรมเป็นเครื่องอุดหนุนแก่พระโพธิญาณ, โพธิสมภาร คือ บุญบารมีที่ได้สะสมไว้แต่หนหลังบุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
วิจย : ป. การค้นคว้า, การรวบรวม, การสะสม, การสอบสวน
วิจิณฺณ, วิจิต : กิต. สะสมแล้ว, สังเกตแล้ว
สงฺฆาต : ป. การฆ่า, การสะสม; ขื่อเรือน
สญฺจย : ป. การสะสม
สญฺจิต : กิต. สะสมแล้ว
สญฺจินน : นป. การสะสม
สนฺนิจฺจย : ป. การสะสม, การตุนไว้
สนฺนิจย สนฺนิจฺจย : (ปุ.) การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การสะสม, ฯลฯ. สํ นิปุพฺโพ, จิ จเย, โณ.
สนฺนิจิต : กิต. สะสมแล้ว
สนฺนิธาน : (นปุ.) การนับเนื่อง, การใกล้เคียง, การสะสม, การสั่งสม, ความนับเนื่อง, ฯลฯ. สํ นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. สนฺนิธาน.
สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
สุจิต : (วิ.) สั่งสมด้วยดี, สะสมด้วยดี, ก่อด้วยดี. สุฏฐปุพฺโพ, จิ จเย, โต.
อุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้น, การก่อสร้าง, การสะสมขึ้น, การสะสม, การสั่งสม. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ, ยุ.
อุจฺจยน : (นปุ.) การก่อขึ้น, การก่อสร้าง, การสะสมขึ้น, การสะสม, การสั่งสม. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ, ยุ.