สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
ขุภติ : ก. กำเริบ, กระเพื่อม, ไหว, สั่น, สะเทือน
ปเวธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สะดุ้ง
อุพฺเพธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สั่น
กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
ชีวิตินฺทฺริยารมฺมณ : (วิ.) มีอินทรีย์คือชีวิตเป็น อารมณ์.
ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.
อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
อาลมฺพ : (ปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพียเตติอาลมฺโพ.ลมฺพนฺติเอตฺถรูปาทีสูติวาอาลมฺโพ.อาปุพฺโพ, ลพิอวสํสเน, อ.
อาลมฺพณอาลมฺพน : (นปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิกาเอตฺถอาคนฺตฺวาลมฺพนฺตีติอาลมฺพณํอาลมฺพนํ วา, ยุปัจ. ส. อาลมฺพนการอาศรัยอยู่, การห้อยอยู่.
กมฺปิย : ค. น่าหวั่นไหว, มีความสะเทือน
กมฺเปติ : ก. ทำให้หวั่นไหว, ทำให้สะเทือน
กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
คนฺธารมฺมณ : ๑. นป. คันธารมณ์, อารมณ์คือกลิ่น, ความติดในกลิ่น
๒. ค. มีกลิ่น
โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
จิตฺตานุปสฺสนา :
(อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
จิตฺเตกคฺค : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง, จิตมี อารมณ์เดียว วิ. จิตฺตํ เอกคฺคํ จิตฺเตกคฺคํ วิเสสนุต. กัม.
จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
ตตฺรตตฺราภินนฺทีนิ : (วิ.) เพลิดเพลินใน อารมณ์นั้น ๆ.
ตทารมฺมณ : นป. อารมณ์นั้น
เตชกสิณ : นป. การเพ่งกรรมฐานมีไฟเป็นอารมณ์
ทฺวตฺตีสาการกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐาน มีอาการสามสิบสองเป็นอารมณ์.
ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
ทุรงฺคม : (วิ.) ไปสู่อารมณ์อันไกล, ไปสู่ที่ไกล, ไปในที่ไกล, ไปไกล.
โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
ธมฺมารมฺมณ : นป. ธรรมารมณ์, อารมณ์คือธรรม, อารมณ์ที่รู้ได้ด้วยใจ
นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
นิณฺณย : (ปุ.) ธรรมชาติตัดอารมณ์ไป, ความตระหนักแน่น, ความแน่ใจ. วิ. อารมฺมณํ นิจฺฉินนฺโต นยตีติ นิณฺณโย. นิปุพฺโพ, นยฺ คมเน, อ, นสฺส ณตฺตํ. เป็น นินฺนย โดย ไม่แปลง น เป็น ณ บ้าง.
ปกมฺปติ : ก. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน
ปกมฺปน : นป. การหวั่นไหว, การสั่นสะเทือน
ปฏิหญฺญติ : ก. (อันเขา) กระทบ, ทำให้สะเทือนใจ, กำจัด
ปฏิหต : กิต. (อันเขา) กระทบแล้ว, ทำให้สะเทือนแล้ว, กำจัดแล้ว
ปฐวีกมฺป : ป. ความสั่นสะเทือนแห่งแผ่นดิน, แผ่นดินไหว
ปริตฺตารมฺมณ : (นปุ.) อารมณ์อันเป็นปริตตะ, อารมณ์อันเป็นกามาวจร.
ปริตฺตารมฺมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีอารมณ์เป็น ปริตตะ ได้แก่ จิตและเจตฺสิกอันเป็น กามาวจร. ไตร. ๓๓ / ๓๖๗.
ปริผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, เต้น
ปริสฺปฺปนา : อิต. การเลื้อย, การคลาน, การสั่นสะเทือน, ความสงสัย, ความลังเล
ปวฺยเถติ : ก. ให้สั่นสะเทือน, ให้หวั่นไหว
ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว