Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัก , then ศัก, สก, สกฺ, สัก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัก, 222 found, display 1-50
  1. สก : (ปุ. นปุ.) ผัก (สำหรับทำกับข้าว). สา ปาเก, โก. ส. ศาก.
  2. สาก : (ปุ.) เจ้าศากยะ, ต้นสัก. สกฺ สามตฺถิยํ, โณ.
  3. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  4. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  5. หตลาภสกฺการ : (วิ.) มีลาภและสักการะเสื่อมแล้ว.
  6. อภิสกฺการ : ป. สักการะยิ่ง, การบูชายิ่ง
  7. มิคสก : (ปุ.) หมา วิ. มิคํ สกตีติ มิคสโก (ผู้สามารถจับหรือฆ่าเนื้อ), สกฺ สตฺติยํ, อ.
  8. กรจฺฉท : ป. ต้นสัก, ไม้สัก
  9. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  10. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  11. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  12. นามมตฺต : ค. สักแต่ว่าชื่อ, เป็นเพียงชื่อ, มีแต่ชื่อ
  13. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  14. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  15. อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
  16. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  17. อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
  18. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  19. ฉก : (นปุ.) ขี้, คูถ, สกฺ สตฺติยํ, อ, สสฺส, โฉ.
  20. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  21. สิกฺกา : (อิต.) สาแหรก วิ. กาเช อวลมฺพนํ เวตฺตาทีวิกติ สิกฺกา นาม. สกฺ สตฺติยํ, โก, อสฺส อิ.
  22. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  23. จตุรสฺส, - สก : ค. ซึ่งเป็นจัตุรัส, ซึ่งเป็นสี่เหลี่ยม, มีสี่มุม
  24. ตาลิส, - สก : นป. ต้นเฉียง ; ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้ (ได้ผงและน้ำมันมาจากต้นไม้ชนิดนี้)
  25. ทาส, - สก : ป. ทาส, คนรับใช้
  26. ปฏิวึส, - สก : ป. ส่วน, ส่วนแบ่ง
  27. ยาทิส, - สก : ค. อย่างไรก็ดี, เหมือนอย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม
  28. อาทาส, - สก : ป. กระจก, แว่น, คันฉาย, คันส่อง
  29. สกฺกาย : ป. กายของตน
  30. สกฺกายทิฏฺฐิ : อิต. ความยึดถือว่ากายของตน
  31. สกฺการ : ป. การเคารพนับถือ, เครื่องบูชา
  32. สกฺกุณาติ, สกฺโกติ : ก. อาจ, สามารถ
  33. สกทาคามี : ป. ผู้จะมาเกิดอีกคราวเดียว - หมายถึงพระอริยบุคคล
  34. สกพล : นป. กำลังของตน, คำข้าวในปากของตน
  35. สกฺยมุนิ : ป. พระพุทธเจ้า
  36. สกรณีย : ค. ผู้ยังมีกิจที่จะต้องทำ
  37. สกลิกา : อิต. เสิ้ยน, สะเก็ด
  38. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  39. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  40. ธมฺมโฆสก : ป. ธรรมโฆสก, ผู้ประกาศธรรม
  41. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  42. นปุสก : ป. นปุงสกลิงค์, ไม่ปรากฏเพศชายเพศหญิง, บัณเฑาะก์, กะเทย, ขันที
  43. นปุสกลิงฺค : (นปุ.) เพศบัณเฑาะก์, เพศ กะเทย, นปุงสกลิงค์ (ไม่ใช่เพศหญิงไม่ ใช่เพศชาย ไม่มีเพศ).
  44. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  45. มิสฺสก มิสฺสกวน : (นปุ.) มิสสกะ มิสสกวัน มิสกวัน ชื่อป่าหรือสวนของพระอินทร์ อุทยานของพระอินทร์ มีไม้ต่างๆ ระคนกัน.
  46. สุก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า, วิ โสกติ มนาเปน คมเนน คจฺฉตีติ สุโก. สุกฺ คติยํ, อ. สุนฺทรํ สุฏฐุ วา มนุสฺสสทฺทํ กายตีติ วา สุโก. สุนฺทรปุพฺโพ, กา สทฺเท, อ.
  47. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  48. หึสก : (วิ.) ผู้เบียดเบียน, ผู้ทำร้าย, ผู้ประทุษร้าย. หิสิ หึสายํ, ณฺวุ. ส. หึสก.
  49. อีสกฺกร : (วิ.) อันเขาทำหน่อยหนึ่ง วิ. อีสํ กรียเตติ อีสกฺกรํ. อีสํปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โข, นิคฺคหิตโลโป.
  50. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-222

(0.0634 sec)