วตฺถุ : นป. พัสดุ, สิ่งของ, เรื่อง, พื้นที่
สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
ฆรพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกคือเรือน, วัตถุ เป็นเครื่องผูกคือเรือน. วิ. ฆรํ เอว พนฺธนํ ฆรพนฺธนํ.
เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
ทานวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุสำหรับให้, วัตถุสำหรับให้ทาน, ทานวัตถุ. ทานวัตถุมี ๑๐ อย่าง คือ อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธํ (นับ ๒) วิเลปนํ เสยฺยาวสถํ (นับ ๒), ปทีเปยฺยํ.
อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
กปฺปิยวตฺถุ : (นปุ.) สิ่งของอันสมควร, ฯลฯ, กัปปิยวัตถุ สิ่งของที่ภิกษุบริโภคได้ หรือ ใช้ได้ ไม่ผิดพระวินัย.
กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
ญาณวตฺถุ : นป. ญาณวัตถุ, หัวข้อแห่งญาณ
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
กสิณมณฺฑล : นป. วัตถุกลมๆ เช่น กระด้ง สำหรับเพ่งเวลาทำกัมมัฏฐาน
กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
ขุทฺทช : (นปุ.) วัตถุอันเกิดจากผึ้ง, น้ำผึ้ง.
คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
ฆฏาทิสกล : (ปุ. นปุ.) ส่วนแห่งวัตถุมีหม้อ เป็นต้น.
ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ
๑. ธมฺม - สมาจาร
๒. กาม - สุข
๓. อตฺถ - ปัจจัย
๔. โมกฺข - นิพพาน
จตุมธุร : นป. วัตถุมีรสอร่อยสี่อย่าง, ของหวานสี่อย่าง คือ เนยใส, น้ำมัน, น้ำผึ้ง, น้ำอ้อย
เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
เญยฺยธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่พึงรู้, ธรรมที่ควรรู้. วัตถุเครื่องปิด, ฯลฯ, วัตถุสำหรับปิด, ฯลฯ ผ้า ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ.
ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
นขเฉทน : (นปุ.) การตัดเล็บ, วัตถุสำหรับตัด ซึ่งเล็บ, มีดตัดเล็บ, แหนบตัดเล็บ.
นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
นิรามิส : (วิ.) มีเหยื่อออกแล้ว, มีเหยื่อล่อออก แล้ว, มีเครื่องล่อออกแล้ว, มีวัตถุเครื่อง ล่อใจออกแล้ว, ไม่มีเหยื่อ, ฯลฯ, ปราศจาก เหยื่อ, ฯลฯ, หมดเหยื่อ, ฯลฯ, ไร้เหยื่อ, ฯลฯ. นิ+อามิส รฺ อาคม.
นีลกสิณ : นป. นีลกสิณ, วัตถุสีน้ำเงินหรือเขียวซึ่งใช้เพ่งเมื่อทำสมาธิ
ปตฺตปิธาน : (นปุ.) วัตถุสำหรับปิดซึ่งมาตร, ฝาบาตร.
ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
ปป : (นปุ.) วัตถุอันสัตว์ดื่ม, น้ำ, ปปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.
ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
ปาทฆสนี : อิต. ผ้าเช็ดเท้า; วัตถุสำหรับเช็ดเท้า