Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สังสาร , then สงสาร, สํสาร, สังสาร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สังสาร, 22 found, display 1-22
  1. ภว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น, ความเจริญ, ความเกิด, การเกิด, การถึง, ธาตุมีกามธาตุเป็นต้น, สังสาร, สัสสติทิฏฐิ, ประเทศที่เกิด, ที่เกิด, ภพ. ภู สตฺตายํ, อ. แปลว่า โลก แผ่นดิน ก็มี.
  2. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  3. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  4. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  5. อิทปจฺจยตา อิทปฺปจฺจตา : (อิต.) ความเป็น แห่งธรรม มีอวิชชาเป็นต้นเป็นปัจจัย, ความเป็นแห่งสังสารอัฏมีอวิชชาเป็นต้น เป็นปัจจัย.
  6. ทยติ : ๑. ก. บิน; ๒. ค. เอ็นดู, สงสาร, กรุณา
  7. อนุกมฺป : (วิ.) ไหวตาม, อนุเคราะห์, เอ็นดู, สงสาร, กรุณา.
  8. อเนกสสารอเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสารอัน...พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่หนึ่ง.
  9. อเนกสสาร อเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสาร อัน... พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่ หนึ่ง.
  10. อนาถ : (วิ.) ผู้ไม่มีที่พึ่ง, ผู้หาที่พึ่งไม่ได้, ผู้ไร้ที่พึ่ง, ผู้ไม่มีอิสระ.ไทย อนาถ (อะหนาด)ใช้ในความหมายว่า สงสาร สังเวช สลดใจ.อนาถาใช้ในความหมายว่ากำพร้ายากจนเข็ญใจ.ส.อนาถ.
  11. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  12. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  13. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  14. ทยิตพฺพ : กิต. อัน...พึงเอ็นดู, พึงสงสาร, พึงเห็นอกเห็นใจ
  15. นิทฺทย : ค. หมดความกรุณา, ปราศจากความเอื้อเฟื้อ, ไม่สงสาร, โหดร้าย
  16. มหากรุณา : อิต. มหากรุณา, ความสงสารใหญ่
  17. วราก : ๑. นป. ตุ่ม, ไห; ๒. ค. น่าสงสาร
  18. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  19. อนุกมฺปติ : ก. สงสาร, อนุเคราะห์, เมตตา
  20. อนุกมฺปน : นป. อนุกมฺปา อิต. ความเอ็นดู, ความเมตตา, ความสงสาร
  21. อนุกมฺปิต : ค. ผู้ที่เขาสงสารแล้ว
  22. โอฆสสาร : (ปุ.) การท่องเที่ยวไปในห้วงน้ำ คือกิเลส, โอฆสงสาร (การเวียนเกิดเวียน ตายในโลก).
  23. [1-22]

(0.0133 sec)