Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัญญาเช่า, สัญญา, เช่า , then ชา, เช่า, สญญา, สญฺญา, สญญาชา, สัญญ, สัญญา, สัญญาเช่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัญญาเช่า, 348 found, display 1-50
  1. สญฺญา : อิต. ความจำได้, ความหมายรู้
  2. ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
  3. ปฏิญฺญา : อิต. ปฏิญญา, คำรับรอง, คำมั่น, สัญญา, การตกลง, การให้การเห็นชอบ, การอนุญาต
  4. ปฏิสฺสว : ป. การรับคำ, คำมั่น, สัญญา, การยอมฟังคำ, การเชื่อฟัง
  5. อปินาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
  6. อปิ นาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
  7. สนฺธิสญฺญา : (อิต.) สัญญาติดต่อกัน, สนธิ สัญญา คือสัญญาติดต่อกันระหว่างรัฐต่อรัฐ.
  8. กามสญฺญา : อิต. กามสัญญา, ความสำคัญในกาม
  9. ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
  10. นิโรธสญฺญา : อิต. นิโรธสัญญา, ความสำคัญในการดับ
  11. ปฏิกูลสญฺญา : อิต. ปฏิกูลสัญญา, ความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล, ความกำหนดหมายว่าเป็นของน่ารังเกียจ
  12. ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
  13. อภิสญฺญานิโรธ : ป. การดับสัญญา
  14. อาโลกสญฺญา : อิต. อาโลกสัญญา, ความสำคัญว่ามีแสงสว่าง
  15. กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
  16. กายกมฺมญฺญตา : อิต. ความคล่องแห่งกาย, ความเป็นของควรแก่การงานแห่งกอง เวทนา, สัญญาและสังขาร
  17. กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  18. กายปาคุญฺญตา : อิต. ความคล่องแคล่วของกาย, ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  19. คนฺธสญฺญา : อิต. คันธสัญญา, ความสำคัญหมายในกลิ่น
  20. นานตฺตสญญา : (อิต.) สัญญาต่าง ๆ กัน.
  21. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  22. ปฏิสฺสุณาติ : ก. รับคำ, ยอมรับ, ตกลง, ให้สัญญา
  23. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  24. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  25. สจฺจการ : ค. ผู้ทำสัญญา
  26. อญฺญมญฺญปจฺจย : (วิ.) เป็นเครื่องสนับสนุนที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันคือเวทนาสัญญาสังขารและวิญญาณ.
  27. อสญฺญ, - ญก, - ญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
  28. อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
  29. อสญฺญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
  30. อสญฺญีภว : ป. ภพของสัตว์ที่ไม่มีสัญญา
  31. อสญฺญีวาท : ค. ผู้ยึดถือทิฐิว่าหลังจากตายแล้ว อัตตาไม่มีสัญญา
  32. อสัญฺญสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่มีสัญญา, อสัญญีสัตว์ชื่อของพรหมพวกหนึ่งมีแต่รูป ไม่มีสัญญา.
  33. อิณปณฺณ : นป. ใบสัญญากู้เงิน
  34. อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ
  35. ธมฺมสญฺญา : (อิต.) ความรู้ว่าธรรม วิ. ธมฺมํ อิติ สญฺญา ธมฺมสญฺญา.
  36. โปกฺขรสาตก : (ปุ.) นกดอกบัว, นกกวัก, นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง. วิ. โปกฺขรสฺส สญฺญา ยสฺส โส โปกฺขร-สาตโก. แปลง ญ ตัวหน้าเป็น ต ตัวหนังเป็น ก และทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  37. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  38. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  39. ชาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์ ชาตบุษย์ ชื่อบัว, ต้น ผักชีล้อม.
  40. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  41. ชาติสมฺภว : ป. ดู ชาติปภว
  42. ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
  43. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  44. ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
  45. ชาลี : (วิ.) มีข่าย วิ. ชาล มสฺส อตฺถีติ ชาลี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  46. ชาชี : (ปุ.) ทหารกล้าศึก. ชชฺ ยุทฺเธ, ณี.
  47. ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
  48. ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
  49. ชาตกภาณก : ค. ผู้เล่าชาดก
  50. ชาตาปจฺจา : อิต. หญิงคลอดลูก
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-348

(0.0646 sec)