สญฺญต : ค. ซึ่งร้องเรียกกัน, ตั้งชื่อ
ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
ปฏิญฺญา : อิต. ปฏิญญา, คำรับรอง, คำมั่น, สัญญา, การตกลง, การให้การเห็นชอบ, การอนุญาต
ปฏิสฺสว : ป. การรับคำ, คำมั่น, สัญญา, การยอมฟังคำ, การเชื่อฟัง
อปินาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
อปิ นาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
กปฺปิยสญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความสำคัญว่าควร
สญฺญี : ๑. อิต. ความรู้สึก,
๒. ค. มีความรู้สึก
สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
สนฺธิสญฺญา : (อิต.) สัญญาติดต่อกัน, สนธิ สัญญา คือสัญญาติดต่อกันระหว่างรัฐต่อรัฐ.
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กามสญฺญา : อิต. กามสัญญา, ความสำคัญในกาม
กายกมฺมญฺญตา : อิต. ความคล่องแห่งกาย, ความเป็นของควรแก่การงานแห่งกอง เวทนา, สัญญาและสังขาร
กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
กายปาคุญฺญตา : อิต. ความคล่องแคล่วของกาย, ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
กาฬสุตฺต : (ปุ.) กาฬสุตตุ ชื่อนรกใหญ่ขุมที่ ๒ ใน ๘ ขุม วิ. ยตฺถ นิรเย เนรยิกานํ สรีรานิ วฑฺฒกีนํ กาฬสุตฺเตน สญฺญ าณํ กตฺวา วาสินา ตจฺฉนฺติ โส กาฬสุตฺโต.
คนฺธสญฺญา : อิต. คันธสัญญา, ความสำคัญหมายในกลิ่น
ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
นานตฺตสญญา : (อิต.) สัญญาต่าง ๆ กัน.
นิโรธสญฺญา : อิต. นิโรธสัญญา, ความสำคัญในการดับ
นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
ปฏิกูลสญฺญา : อิต. ปฏิกูลสัญญา, ความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล, ความกำหนดหมายว่าเป็นของน่ารังเกียจ
ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
ปฏิสฺสุณาติ : ก. รับคำ, ยอมรับ, ตกลง, ให้สัญญา
ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
สจฺจการ : ค. ผู้ทำสัญญา
สุญฺญวจ : (ปุ.) คนใบ้ วิ. สุญฺโญ วโจ ยสฺส โส สุญฺญวโจ.
อญฺญมญฺญปจฺจย : (วิ.) เป็นเครื่องสนับสนุนที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันคือเวทนาสัญญาสังขารและวิญญาณ.
อภิสญฺญานิโรธ : ป. การดับสัญญา
อสญฺญ, - ญก, - ญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
อสญฺญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
อสญฺญีภว : ป. ภพของสัตว์ที่ไม่มีสัญญา
อสญฺญีวาท : ค. ผู้ยึดถือทิฐิว่าหลังจากตายแล้ว อัตตาไม่มีสัญญา
อสัญฺญสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่มีสัญญา, อสัญญีสัตว์ชื่อของพรหมพวกหนึ่งมีแต่รูป ไม่มีสัญญา.
อาโลกสญฺญา : อิต. อาโลกสัญญา, ความสำคัญว่ามีแสงสว่าง
อิณปณฺณ : นป. ใบสัญญากู้เงิน
อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ