โกลาหล : (วิ.) เอิกเกริก, กระฉ่อน, กึกก้อง, วุ่นวาย, เซ็งแซ่, ชุลมุน, สับสน, แตกตื่น, อลหม่าน.
นิฆ : ๑. ป. โกรธ, สับสน, วุ่นวาย, ยุ่งยาก;
๒. นป. การฆ่า, การประหาร, การทำลาย
อกฺกุล : ค. วุ่นวาย, สับสน, ปั่นป่วน
อากุล : (วิ.) วุ่นวาย, สับสน, ยุ่งเหยิง, คั่งค้าง, อากูล.อาปุพฺโพ, กุลฺ พนฺธุมฺหิ, อ.ส. อากุล
อาลุเฬติ : ก. สับสน, ฟุ้งซ่าน, วุ่นวาย; ให้สับสน, ให้วุ่นวาย
นิรากุล : ค. ไม่สับสน, ไม่อากูล, ไม่ยุ่ง, ไม่วุ่นวาย
จลาจล : (วิ.) หวั่นไหว, วุ่นวาย, ปั่นป่วน.
อาลุฬติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ขุ่นข้อง, วุ่นวาย
อาโลเลติ : ก. กวน, ระคน, วุ่นวาย
อาโลเฬติ : ก. โลเล, วุ่นวาย, ยังให้ขุ่นมัว, ยังให้ยุ่งเหยิง
อาวิลติ : ก. หมุน, ปั่นป่วน, วุ่นวาย, ขุ่น
วิกฺขิปติ : ก. ซัดไป, สับสน
สมฺมิสฺเสติ : ก. เจือปน, สับสน
อนฺธกรณ : ค. บอด, ทำให้มืด, สับสน
อนฺวาหต : ค. ถูกกระทบ, สับสน, ยุ่ง
ทิฏฺฐิกนฺตาร : ป. กันดารคือทิฐิ, ความยุ่งเหยิงสับสนแห่งความคิดเห็นผิดต่างๆ
ทิฏฺฐิสงฺฆาต : ป. โครงร่างแห่งทิฐิ, ความสับสนแห่งความเห็น
ปฏิจฺฉาเทติ : ก. ปกปิด, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, อำพราง, นุ่งห่ม, พัน, ปิด, รักษา (แผล); กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, อำพราง (ปัญหา)
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
วฺยากุล : นป. ความวุ่นวาย
วิกฺขิปน : นป., วิกฺเขป ป. การซัดไป, การสับสน
อปฺปณฺณ : ค. ไม่เกลื่อนกล่น, ไม่วุ่นวาย
อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
อวฺยคฺค : ค. ไม่ถูกรบกวน, ไม่สับสน, ไม่งงงวย
อวิมน : ค. ไม่ยุ่งเหยิง, ไม่สับสน
อากุลนีย : ค. มักใช้ในรูปปฏิเสธ, เป็น อนากุลนีย = ไม่สับสน, ไม่ปนกัน
อาโลฬ : ป. ความขุ่นมัว, การระคน, การสับสน
อุปทฺทุต : กิต. ถูกทำให้เดือดร้อนแล้ว, ถูกทำให้วุ่นวายแล้ว
อุสฺสาท : ป. ความเต็มเปี่ยม, ความมากมาย; ความวุ่นวาย, เสียงกึกก้อง
เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.