Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัมมาสังกัปปะ, สังกัปปะ, สัมมา , then สงกปป, สมมา, สมฺมา, สมมาสงกปป, สังกัปปะ, สัมม, สัมมา, สัมมาสังกัปปะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมมาสังกัปปะ, 32 found, display 1-32
  1. สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
  2. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  3. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  4. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  5. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  6. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  7. สมฺมาทิฏฺฐก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ, ผู้เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  8. สมฺมาปาส : (ปุ.) สัมมาปาส ชื่อ มหายาคะ อย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง. ตีณิ วสฺสานิ วินา วฑฺฒิยาสหสฺสทฺวิสหสฺสมตฺตธนานุปฺปทานํ สมฺมาปาโส นาม.
  9. สาธุชน : (ปุ.) คนดี, คนที่เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  10. อาชีวฏฺฐมกสีล : (นปุ.) ศีลมีอาชีวะเป็นที่แปด, ศีลมีการเลี้ยงชีพบริสุทธิ์เป็นที่แปดคือกายสุจริต๓วจีสุจริต๔และสัมมาอาชีวะ๑.
  11. อินฺท : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. อินฺโท วุจฺจติ ปรมิสฺสริยภาวโต.
  12. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  13. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  14. สมฺโพธ : (วิ.) รู้เอง, ตรัสรู้เอง, รู้โดยชอบ, ตรัสรู้โดยชอบ, ทรงรู้เอง, ฯลฯ. สํ สมฺมา วา พุธฺ อวคมเน, โณ.
  15. สมฺเภท : (ปุ.) แม่น้ำประสมกัน, ปากน้ำ. วิ. สมฺมา ภิชฺชนฺติ อสฺมินฺติ สมฺเภโท. สมฺมา ปุพฺโพ. ภิทิ เมลเน, โณ. ส. สมฺเภท.
  16. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  17. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  18. สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
  19. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  20. สมาธาน : (นปุ.) การตั้งไว้เสมอกัน, การตั้งไว้โดยชอบ. วิ. สมํ สมฺมา วา อาธานํ สมาธานํ.
  21. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  22. สมุห สมูห : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, กลุ่ม, ชุมนุม. วิ. สมฺมา วิเสเสน จ อูหเต ปุญฺชีภูตตฺตาติ สมุโห สมูโห วา. สมํ สหาวยเวน อูหตีติ วา สมุโห สมูโห วา. อูหฺ ปฐเน, อ. ศัพท์ต้นรัสสะ. ส, สมูห.
  23. สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
  24. สุคต : (ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระสุคต พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.สุคต.
  25. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  26. สงฺกปฺป : ป. ความดำริ
  27. สมฺมาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริโดยชอบ. ต. ตัป. ความดำริชอบ. วิเสสนบุพ. กัม.
  28. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  29. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  30. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  31. สมฺมตาล สมฺมตาฬ : (นปุ.) สัมมตาล, สัมมตาฬ (ตาลที่ทำด้วยไม้).
  32. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  33. [1-32]

(0.0663 sec)