Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สั่งสินค้า, สินค้า, สั่ง , then สง, สงสนคา, สั่ง, สั่งสินค้า, สินค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สั่งสินค้า, 79 found, display 1-50
  1. ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
  2. ปณีย : ๑. ป. พ่อค้า, คนขายของ ; ๒. นป., ค. ของที่ขาย, สินค้า; ซึ่งควรซื้อขาย, สำหรับขาย
  3. ภณฺฑ, - ฑก : นป. สิ่งของ, สินค้า
  4. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  5. อาณาเปติ : ก. สั่ง, บังคับ
  6. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  7. การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
  8. กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
  9. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  10. คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  11. คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
  12. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  13. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  14. เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
  15. ชินจกฺก : นป. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  16. ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  17. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  18. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  19. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  20. เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
  21. ธนาธานี : (อิต.) เมืองแห่งทรัพย์, เมืองเป็นที่ เก็บซึ่งทรัพย์, คลังที่เก็บทรัพย์, คลังที่ เก็บสินค้า, คลังสินค้า, กุดังสินค้า, โกดังสินค้า.
  22. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  23. นยติ : ก. นำ, แนะนำ, สั่งสอน
  24. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  25. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  26. นิยุตฺต : ค. อันขวนขวายแล้ว, อันประกอบแล้ว, ผู้อัน...สั่งแล้ว
  27. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  28. นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
  29. ปฏิภณฺฑ : นป. ของหรือสินค้าแลกเปลี่ยน
  30. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  31. ปโยเชตุ : ป. ผู้ประกอบ, ผู้ใช้, ผู้จัดการ, ผู้สั่งการ
  32. ปรธมฺมิก : ค. ผู้ประพฤติตามธรรมของผู้อื่น, ผู้ประพฤติตามคำสั่งสอนของผู้อื่น
  33. ปสาสติ : ก. สั่งสอน, แนะนำ, โอวาท, ปกครอง
  34. ปสาสน : นป. การสั่งสอน, การแนะนำ, โอวาท, การปกครอง
  35. ปสาสิต : ค. อันเขาสั่งสอนแล้ว, อันเขาแนะนำแล้ว, อันเขาโอวาทแล้ว, อันเขาปกครองแล้ว
  36. ปาเฐติ : ก. สั่งสอน
  37. พุทฺธธมฺม : ป. ธรรมของพระพุทธเจ้า, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  38. ภณฺฑาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ไว้ของ, เรือนสำหรับเก็บของ, โรงไว้ของ, โรงเก็บของ, เรือนคลัง, กุดัง, โกดัง, คลังสิ่งของ, คลังสินค้า.
  39. มิจฺฉาปถ : (ปุ.) ทางดำเนินผิด, ทางดำเนินที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
  40. มิจฺฉาวายาม : (ปุ.) ความเพียรผิด, ความเพียรที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
  41. ยถานุริตฺต : ก. วิ. ตามคำแนะนำ, ตามคำสั่งสอน
  42. สนฺทสฺสก : ป. ผู้ชี้แจง, ผู้สั่งสอน
  43. สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
  44. สาวก : (วิ.) ผู้ฟัง, ผู้ฟังคำสั่งสอน.
  45. สาสติ : ก. สั่งสอน, แนะนำ
  46. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  47. สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
  48. อนาณตฺติก : (วิ.) ไม่ต้องเพราะสั่ง, ไม่ต้องเพราะบังคับ.สิกขาบทใดของบรรพชิตหรือของผู้ครองเรือนใช้ให้ผู้อื่นทำไม่ต้องอาบัติ หรือศีลไม่ขาด, ทำเองจึงต้องอาบัติหรือศีลจึงขาด สิกขาบทนั้นเป็นอณาถณัต-ติกะ.เช่นสิกขาบทเกี่ยวกับการประพฤติผิดในกาม.
  49. อนุสาสน : (นปุ.) การพร่ำสอน, การสั่งสอน, การว่ากล่าว, คำสั่งสอน, คำชี้แจง, อนุ-ศาสน์.วิ.อนุสาสิยเตติอนุสาสนํ.ส. อนุศาสนคำสั่งวินัย.
  50. อนุสาสนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้ทำหน้าที่สั่งสอนอนุศาสนาจารย์.ส. อนุศาสนาจารฺย.
  51. [1-50] | 51-79

(0.0661 sec)