ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
นิวาเรติ : ก. ป้องกัน, กีดขวาง, ห้าม, ปฏิเสธ
นิเสเธติ : ก. ป้องกัน, ห้าม
ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
ปฏิเสธติ, - เธติ : ก. ปฏิเสธ, ห้าม, ป้องกัน, กีดกั้น, ขัดขวาง
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
อภินิคฺคณฺหาติ : ก. ยึด, ดึงกลับ, ป้องกัน, ห้าม
อาวรณ : (วิ.) ปิด, กั้น, ล้อม, กัน, ป้องกัน, ระวัง, ห้าม, ขัดขวาง, กำบัง.
อาวรติ : ก. ปิด, กั้น, กีดกัน, ห้าม
อาวาเรติ : ก. ป้องกัน, ห้าม, กีดกัน
อุปรุนฺธติ : ก. เข้าไปปิดไว้, กั้น, ขวาง, ห้าม
อาณาเปติ : ก. สั่ง, บังคับ
กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
ชินจกฺก : นป. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
ทุนฺนิคฺคห : (วิ.) อัน...ข่มขี่ได้โดยยาก, ข่มขี่ ยาก, ข่มขี่ได้ยาก, ข่มขี่ยาก, ยากที่จะ ห้ามไว้. วิ. ทุกฺเขน นิคฺคยฺหยตีติ ทุนฺนิคฺคโห.
ทุนฺนิวารย : (วิ.) อัน...พึงห้ามได้โดยยาก, ยากที่จะห้ามได้.
เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
นยติ : ก. นำ, แนะนำ, สั่งสอน
นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
นิยมน : (นปุ.) การกำหนด, การห้ามไว้, การทำให้ถูกต้องตามแบบ. อุ ปัจ.
นิยุตฺต : ค. อันขวนขวายแล้ว, อันประกอบแล้ว, ผู้อัน...สั่งแล้ว
นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
นิรคฺคล นิรคฺคฬ : (วิ.) มีลิ่มออกแล้ว, ไม่ห้าม, ไม่เบียน, ไม่ขัดข้อง, ไม่ขัดขวาง, ไม่ติด ขัด, ปลอดอุปสรรค.
นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
นิวรติ : ก. ห้าม, กีดกัน, ปฏิเสธ
นิวารย : (วิ.) อัน...พึงห้าม, อัน...พึงกั้น. นิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, โณฺย.
นิวาริต : ๑. ค. อันเขาห้ามแล้ว;
๒. ค. ซึ่งไม่ถูกห้าม, ซึ่งไม่ถูกกั้น, ซึ่งไม่ถูกเปิด, อันเขาเปิด
นิวาริย : ค. ซึ่งควรแก่การห้ามหรือขัดขวาง
นิวาเรตุ : ค. ผู้ห้าม, ผู้ป้องกัน, ผู้กีดขวาง, ผู้ปฏิเสธ
นิเสธ : ป. การห้าม, การป้องกัน, การกันไว้
นิเสธก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้ห้าม
ปฏิกฺโกสน : นป., - สนา อิต. การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธ, การห้าม
ปฏิกฺขิตฺต : กิต. (อันเขา) ห้ามแล้ว, ปฏิเสธแล้ว, คัดค้านแล้ว