อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
ปทุฏฺฐ : ค. อันโทษประทุษร้ายแล้ว, เสีย, ดุร้าย, เลวทราม
อคุณ : (วิ.) มิใช่คุณ, เสีย, เป็นโทษ.
สย : (ปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สโย.
จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
อาณาเปติ : ก. สั่ง, บังคับ
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
กปฺปพินฺทุ : (นปุ.) จุดอันสำเร็จ, จุดอัน สมควร, จุดอันภิกษุทำบนผ้าให้เป็นของ ควรใช้สอย, กัปปพินทุ คือจุดที่พระทำบน ผ้าของพระ เพื่อทำให้เสียสีหรือเพื่อเป็น เครื่องหมายให้จำได้.
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
คูถภาณี : ค. ผู้พูดเลว, พูดไม่เพราะ, พูดหยาบ; คนปากเหม็น, คนปากเสีย
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
จกฺกฉินฺน : ค. มีจักรอันขาดแล้ว; มีวงล้อหักเสียหายแล้ว
จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
จาคกถา : อิต. จาคกถา, กถาว่าด้วยการบริจาค, การสนทนากันในเรื่องความเสียสละ
จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
จาคี : ป., ค. ผู้สละ, ผู้เสียสละ, ผู้ละเลิก, ผู้ให้, ผู้บริจาค
จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
ชินจกฺก : นป. พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
ติณโทส : ค. มีหญ้าเป็นโทษ; อันเสียหายเพราะหญ้า
ทกฺขิเณยฺยคฺคิ : ป. ไฟคือทักขิไณยบุคคล, ไฟหนึ่งในเจ็ดกองที่พุทธมามกะพึงบำรุงบำเรอบ้าง พึงเสียสละบ้าง
ททฺทภ, - ธภ : ป., นป. เสียงดังทัททะภะ, เสียงดังสนั่น, เสียงดังกึกก้อง, เสียงของหนักหล่นหรือล้ม
ททฺทภยติ, - ธภายติ : ก. ทำเสียงดังทัททะภะ, ส่งเสียงกึกก้อง
ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
ทุพฺพล : (วิ.) มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีกำลังชั่ว, มีกำลังเสีย, มีกำลังทราม, ไม่มีกำลัง, ทรพล, ทรพล. ส. ทุรฺพล, ทุรฺพฺพล.
ทุมฺมุข : ค. ผู้มีหน้าเศร้า; ผู้มีปากเสีย, ผู้ปากร้าย, ผู้ปากกล้า
ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
ทุสฺสก : ค. ผู้ประทุษร้าย, ผู้ทำให้เสียหาย