จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
ขุภติ : ก. กำเริบ, กระเพื่อม, ไหว, สั่น, สะเทือน
จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
จล จลน : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, เคลื่อน, เคลื่อน ไหว, สั่น, รัว, กระดิก, โยก, โยกโคลง, โคลง, กลับกลอก. จลฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
จลติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, สั่น, คลอนแคลน, กระเพื่อม, พลิ้ว, สะบัด
ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
นิจฺฉาเทติ : ก. เขย่า, สั่น, แกว่งไปมา
ปริปฺลว : ค. สั่น, เอียง, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว, สั่น, โยก, เรรวน, เลื่อนลอย
ผนฺทน : (วิ.) ไหว, สั่น, เคลื่อน, เต้นตุบๆ, เขม่น, โยกโคลง. ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ.
พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
สงฺกมฺปติ : ก. หวั่นไหว, สั่น
อิญฺชติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, ลุกชัน (ขน)
อีรติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, โยกคลอน
อุพฺเพธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สั่น
อุทฺธุนาติ : ก. สั่น
อีริต : (วิ.) ขว้าง. ซัด, โยน, พรุ่ง, ยิง, ไหว, เคลื่อนไหว, สั่น. อีรฺ คติกมฺปนเขเปสุ อิโต, โต วา.
ปริปฺลวติ : ก. สั่น, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว
ผุนติ, ผุนาติ : ก. สั่น, หวั่นไหว, โคลงเคลง, ฝัด, โปรย, พรม
วิกฺโขเภติ : ก. สั่น, ทำให้สะเทือน, รบกวน
เวธติ : ก. สั่น, เจาะ, แทง
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
ฆฏฺฏน : (นปุ.) การไหว, การสั่น, การรัว, การบุ, การเคาะ, การแคะ, การงัด, การกระทบ. ฆฏฺ ฆฏิ วา จลนฆฏฺฏเนสุ, ยุ.
ฆณฺฑก : (ปุ.) คนสั่นกระดิ่ง, คนตีระฆัง, คน เคาะระฆัง. ฆฑิ ธาตุ ณฺวุ ปัจ.
จลกฺกกุ, - กุธ : ค. (โค) มีหนอกกระเพื่อม, มีหนอกสั่นระริก
จลิต : ค., นป. ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งสั่น, ซึ่งคลอนแคลน, การเคลื่อนไหว, การหวั่นไหว
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
ปกมฺปติ : ก. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน
ปกมฺปน : นป. การหวั่นไหว, การสั่นสะเทือน
ปฏิโกเปติ : ก. ทำให้สั่น, ทำให้หวั่นไหว, ทำให้กำเริบ, ทำให้เสีย, ทำลาย (การรักษาอุโบสถ)
ปฏิจเลติ : ก. ทำให้ไหว, สั่นเบาๆ , กระดิก
ปฐวีกมฺป : ป. ความสั่นสะเทือนแห่งแผ่นดิน, แผ่นดินไหว
ปริผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, เต้น
ปริสฺปฺปนา : อิต. การเลื้อย, การคลาน, การสั่นสะเทือน, ความสงสัย, ความลังเล
ปวฺยเถติ : ก. ให้สั่นสะเทือน, ให้หวั่นไหว
ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว
ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
ผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, ตื่นเต้น
ผุฏิต : ค. ซึ่งสั่น, ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งโคลงเคลง, ซึ่งระเบิด, ซึ่งแตก, ซึ่งแย้ม, ซึ่งบาน
ภูมิจาล : (ปุ.) การไหวแผ่นดิน, การสั่นแห่งดิน, แผ่นดิน ไหว.
วิกมฺปติ : ก. ย่อมหวั่นไหว, ย่อมสั่นสะเทือน
วิกมฺปน : นป. การหวั่นไหว, การสั่นสะเทือน
วิปฺผุรติ : ก. สั่นสะเทือน
สงฺกมฺปิต : กิต. หวั่นไหวแล้ว, สั่นแล้ว
สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
อพฺภุทฺธุนาติ : ก. สั่นยิ่ง, เขย่ายิ่ง, ขจัดออก
อวิฆฏฺฏิต : ค. อันไม่ถูกกระทบ, ซึ่งไม่สั่น
อากมฺปิต : กิต. หวั่นไหวแล้ว, สั่นสะเทือนแล้ว
อุลฺลุลิต : กิต. ไหวแล้ว, สั่นแล้ว, กระเพื่อมแล้ว