สาก : (ปุ.) เจ้าศากยะ, ต้นสัก. สกฺ สามตฺถิยํ, โณ.
สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
โคกีล : ป. ไถ, สาก
ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
อามกสาก : ป., นป. ผักดิบ, ผักสด
อีสาก : ค. มีงอนไถ
อุทกสาก : นป. ผักน้ำ, ผักที่เกิดในน้ำ
โคสีส : (นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ (เย็นเหมือนน้ำ). วิ. โคสีสากติปพฺพเต มลเยกเทเส ชาตํ โคสีสํ. โค วิย ชลํ วิย สีตนฺติ โคสีสํ ตสฺส โส.
มานสิก : (วิ.) อัน...กระทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสากตํ มานสิกํ. มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มนฺสิกํ. อันเป็นไปในใจ วิ. มนสิ ปวตฺตนํ มานสิกํ. ณิกปัจ.
มุสล : (ปุ. นปุ.) สาก, ตะบอง, ไม้ตะบอง, ตะลุมพุก. มุสฺ ขณฺฑเน เถยฺเย วา, อโล. อถวา, มุสฺ ปาณจาเค.
มุสลี : ค. ผู้มีสากในมือ
สากิย : ค. ชาวสากยะ
สากิยานี : อิต. หญิงชาวสากยะ
สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
อโยคฺค : (ปุ. นปุ.) สาก, สากตำข้าว.วิ.อโยอคฺเคโกฏิยํยสฺสโสอโยคฺโค.ส. อโยคฺร