สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
กปฺปาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกัป, กาลสุดแห่งกัป, ที่สุดแห่งกัป, กาลเป็นที่ สุดแห่งกัป, กัลปาวสาน. ส. กลฺปาวสาน.
อากาสานญฺจายตน : (นปุ.) อากาสานัญจายตนะชื่อของอรูปฌานที่๑วิ. อากาสานญฺจํอายตนํอากาสานญฺจายตนํ.อากาสานญฺจํอายตนํอสฺสาติวาอากาสานญฺจายตนํ.
กฏิปริโยสาน : นป. ที่สุดแห่งบั้นเอว, ก้น
คาถาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง คาถา, การเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
ตจปริโยสาน : ค. มีหนังเป็นที่สุด
เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
นิพฺพานปริโยสาน : ค. อันสุดลงแค่นิพพาน, มีนิพพานเป็นที่สุด
ปริโยสาน : นป. ที่สุด, บทสุดท้าย, การจบ, การรวบยอด
มรณปริโยสาน : ค. มีความตายเป็นที่สุด
วสฺสาน : ป. ฤดูฝน, หน้าฝน
วิสฺสานน : นป. การสละให้
สานิ : (วิ.) นี้แห่งตน, นี้ของตน.
สานุ : (ปุ.) สานุ ชื่อสามเณร.
อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
อนาสสาน, อนาสิสาน : ค. ไม่ปรารถนา
อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
อากาสานนฺต : (วิ.) มีอากาศเป็นที่สุดหามิได้, ไม่มีอากาศเป็นที่สุด.
อาทิปริโยสาน : (ปุ. นปุ.) อักขระเบื้องต้นและอักขระเบื้องปลาย, เบื้องต้นและเบื้องปลาย.
อาสสาน : ค. ปรารถนา, หวัง
อุสฺสาน : (ปุ.) ปืน. อุรปุพฺโพ, สา สามตฺถิยํ, ยุ.
เอสาน : (วิ.) ผู้แสวงหาโดยปกติ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กิล : (ปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
กิลน : (นปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
กุลฺลก : ๑. ป. กระชุ, เครื่องสาน; แพชนิดหนึ่ง; กระด้งเล็กๆ;
๒. ค. ผู้ได้รับเลี้ยงดูอย่างดี
ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
ถาล : (ปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
ถาลก : (นปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
นลการ : ป. ช่างสาน
นลการ นฬการ : (ปุ.) ช่างสาน, ช่างจักสาน, ช่างสานเสื่อ. วิ. นโล เวณุเวตฺตาทีนํ วิกติ, ตํ กโรตีติ นลกาโร นฬกาโร วา.
นฬกลาป : ป. ช่างสาน
มาฆฺย : (นปุ.) คล้า ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ลำต้นและใบคล้ายข่า ผิวคล้ายหวาย จักผิวเอามาใช้เย็บจากแทนหวาย ผู้กสิ่งของหรือสานเป็นเสื่อ. วิ. มาเฆ ภวํ มาฆฺยํ. ณฺย ปัจ. ตาเสือ ต้นตาเสือ ก็แปล.
สมฺปุฎ : (ปุ.) หีบ, ผอบ, ตลับ, ตะกร้า, กล่อง, กล่องข้าว, ลุ้ง, สมุก ชื่อภาชนะสานกัน ๔ มุมมีฝาครอบ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. สํปุพฺโพ, ปุฎ. สํกิเลสเน, อ. ส. สมฺปุฎ.
สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
อนุทิสา : (อิต.) ทิศน้อย, ทิศเฉียงวิ.ทิสานมนุรูปาอนุคติกาวาทิสาอนุทิสา.
อมฺพุพาหน : (นปุ.) ถัง, ครุชื่อภาชนะสานรูปกลม ๆ ยาชันสำหรับตักน้ำ.