สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
สามี : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
สาม : (วิ.) ดำ, ดำคล้ำ, เขียว, เขียวคราม, เหลือง.
ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
สามิภคินี : (อิต.) พี่หญิงของผัว, น้องหญิงของผัว, พี่น้องหญิงของผัว. สามิ+ภคินี.
สามิภาตุ : (ปุ.) พี่ชายของผัว, น้องชายของผัว, พี่น้องชายของผัว. สามิ+ภาตุ.
สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
สามีจิกมฺม : (นปุ.) การทำชอบ, ฯลฯ, กิจชอบ, ฯลฯ, กรรมชอบ, ฯลฯ, สามีจิกรรม (การชอบ การเคารพ).
สาม : (อัพ. นิบาต) เอง, โดยลำพัง, โดยตนเอง, ด้วยตนเอง. อภิฯ ลงใน สยตฺถ รูปฯ ลงในตติยตฺถ.
สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
สามณก : ค. อันสมควรแก่สมณะ
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
สามีจิ : (วิ.) ชอบ, ชอบยิ่ง, ชอบธรรม, ควร, สมควร, ถูกต้อง.
กนิฏฺฐ ภคินิสามี : (ปุ.) สามีของน้องสาว, น้องเขย.
ภรุ : (ปุ.) ชายผู้เลี้ยง, ผัว, สามี, ภัสดา. ณุ ปัจ.
อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
กมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของกรรม
กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
กาฬสาม : (ปุ.) ดำคล้ำ (สี...), สีดำคล้ำ.
ธมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า
ธมฺมสามี : (ปุ.) แปลเหมือน ธมฺมมสาติ.
ยญฺญสามี : ป. ผู้บูชายัญ, เจ้าของยัญ
สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
อสฺสามณก : (วิ.) ไม่ควรแก่สมณะ, ไม่ใช่กิจของสมณะ.
อิสฺสามนก : ค. ผู้มีใจริษยา
จตุตึส จตุตฺตึส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยสี่, สาม สิบสี่.
อฏฺฐตฺตีส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยแปด, สาม สิบแปด.
เอกูนตึส : (อิต.) สามสิบหย่อนด้วยหนึ่ง, สาม สิบหย่อนหนึ่ง, ยี่สิบเก้า. วิ. เอเกน อูนา ตึส เอกูนตึส. ต. ตัป.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
ตติยฌาน : (นปุ.) ฌานที่สาม, ฌานอันดับที่ สาม.
ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
ติก : (วิ.) สาม. ติ ศัพท์ ก สกัด มีประมาณสาม ติ+ ก ปัจ.
ติโลกเกตุ : (ปุ.) ธงในโลกสาม, ธงชัยในโลก สาม.
ภตฺต : (ปุ.) ผัว, สามี. ภรฺ ภรเณ, โต.
กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
กติปาห : (นปุ.) วันเล็กน้อย (สองสามวัน).
กติปาห : ก. วิ. สองสามวัน
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กสิมา : ป. ชายผู้เป็นสามี, ผู้ปลูกฝัง, ผู้ให้กำเนิด
กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
กุปก : (ปุ.) เสากระโดง. กปุ สามตฺถิยํ, อ. ก สกัด.
ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)