Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สามเหลี่ยมด้านเท่า, สามเหลี่ยม, เท่า, ด้าน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สามเหลี่ยมด้านเท่า, 88 found, display 1-50
  1. กปฺป : (วิ.) หย่อนหน่อยหนึ่ง, เกือบเท่า, รอบด้าน, ควร, สมควร, คล้าย, เช่น, เหมือน. กปฺปฺ ปริจฺเฉทเน, อ.
  2. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  3. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  4. มงฺกุ : ค. เก้อ, ด้าน
  5. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  6. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  7. ติยงฺส : (ปุ.) ส่วนสาม, สามเหลี่ยม. ติ+ อํส ยฺ อาคม.
  8. นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
  9. อุตฺตราวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเดินเวียนซ้าย คือ การเดินเวียนโดยมือซ้ายอยู่ทาง (ด้าน) สิ่งที่เรา เวียน, อุตราวัฏ. ส. อุตฺตรวฺฤตฺต.
  10. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  11. กตฺติกา : (อิต.) กัตติกา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๘ ดวง, ดาวลูกไก่, ดาว ธงสามเหลี่ยม, กรรดึก. ส. กฤตฺติกา
  12. กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
  13. กหาปณก : นป. ชื่อของการทรมานชนิดหนึ่งซึ่งเฉือนเนื้อออกเป็นชิ้นๆ เท่าเหรียญกหาปณะ
  14. กิมฺปกฺก, กิมฺผล : นป. ผลไม้มีพิษชนิดหนึ่งลูกเท่าผลมะม่วง
  15. โกลมตฺตี : ค. มีขนาดเท่าผลกระเบา, มีขนาดเท่าผลพุทรา
  16. ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
  17. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  18. คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
  19. คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
  20. จตุรสฺสร : ค. (ค้อน) สี่เหลี่ยม, มีคมทั้งสี่ด้าน
  21. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  22. ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
  23. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  24. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  25. ตุล : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, คล้าย, เช่นกัน. ตุลฺ อุมฺมาเณ ตีรณายํ วา, อ.
  26. ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
  27. ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
  28. ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
  29. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  30. ถมฺภ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, กระด้าง, แข็ง, แข็งกระด้าง. ถภิ ปติพนฺธเน, อ.
  31. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  32. ททฺทุ : (อิต.? ) หิด, หิดเปื่อย. วิ. ทุกฺเวทนํ ททาตีติ ททฺทุ. ททฺ ทาเน, ทุ. แปลว่า หิตด้าน ก็มี. รูปฯ ๖๖๑.
  33. ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
  34. ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
  35. ทฺวิตา, (ทฺวิตฺตา) : อิต. ความเป็นสองเท่า
  36. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  37. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  38. ทิสาจกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุสอดส่องไปในทิศ, ผู้มีปัญญารอบรู้ทุกด้าน
  39. ทุภโต : อ. แต่ข้างทั้งสอง, จากทั้งสองฝ่าย, จากด้านทั้งสอง
  40. ธช : (ปุ.) ธง, ธงชัย, ธงชาย (ธงรูปสามเหลี่ยม), ธงแผ่นผ้า, เครื่องหมาย, ลอยตรา, ลักษณะ, ธวัช, ธุช. ธชฺ คติยํ, อ. ส. ธฺวช.
  41. นิลชฺช : (วิ.) มีความสะอาดแล้ว, มีความกระดากออกแล้ว, ฯลฯ, หมดความละอาย, หมดความกระดาก, หน้าด้าน.
  42. นิลฺลชฺช : ค. ไม่มีความละอาย, หมดยางอาย, หน้าด้าน
  43. ปฏิทิสา : อิต. ทิศตอบ, ทิศตรงข้าม, ด้านตรงข้าม
  44. ปฏิภาค : ค., ป. มีส่วนเปรียบได้, ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, ซึ่งคล้ายคลึง, เท่ากัน; คนทัดเทียม, ศัตรู, ความเหมือนกัน; ความคล้ายคลึงกัน; คำตอบ
  45. ปมาณก : ค. ซึ่งมี...เป็นประมาณ, ซึ่งมีขนาดเท่า, ซึ่งวัดได้เท่า
  46. ปมาณิก : ค., ป. ซึ่งถือเอกเป็นประมาณ, ซึ่งวัดด้วย, ซึ่งมีประมาณเท่า, ซึ่งขนาดเท่า; ผู้ถือประมาณ, ผู้วัด, ผู้ตัดสิน
  47. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  48. ปาคพฺภิย : นป. ความอวดดี, ความหน้าด้าน, ความคะนอง
  49. ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
  50. ปิฏฺฐิ : อิต. หลัง, หลังด้าน, ข้างบน, ยอด
  51. [1-50] | 51-88

(0.0099 sec)