Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สายตาสั้น, สายตา, สั้น , then สน, สั้น, สายต, สายตา, สายตาสั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สายตาสั้น, 323 found, display 1-50
  1. นจิร : ค. ไม่นาน, สั้น
  2. รสฺส : ๑. ป. คนเตี้ย, คนแคระ; ๒. ค. ต่ำ, สั้น
  3. อจิร : (อัพ. นิบาต) ไม่นาน, ฯลฯ, สั้น.
  4. อิตร : (วิ.) อื่น, นอกนี้, ประการนี้, ต่างหาก, ต่ำ, สั้น. อิตรสทฺโท ปาฏิปทิโก. อญฺญตฺถ - วาจโก. อิทํสทฺทา วา ตโร, อญฺญทตฺโถ, ทํโลโป จ. ที่แปลว่า ต่ำ สั้น ส่วนมากใช้ อิตฺตร. ส. อิตร.
  5. กฬิมฺพก : นป. เครื่องหมายที่ให้รู้ระยะน้อยใหญ่ยาวสั้นของผ้ากฐิน
  6. กุณ : (วิ.) หดเข้า, สั้นเข้า, งอ, หงิก, ง่อย.
  7. ฆฏิกมุคฺคร : นป. ไม้กระบองสั้น, ไม้ค้อน
  8. จกฺขุโลล : ค. ผู้คะนองตา, ผู้มีสายตา, ผู้อยากเห็นโน่นเห็นนี่
  9. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  10. ทกฺขิณายน : (นปุ.) ทักขิณายน คือการที่พระ อาทิตย์เป็นไปสู่ทิศใต้ ( ตามสายตาของ ชาวโลก ) วิ. ทกฺขิณํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ ทกฺขิณายนํ. ทกฺขิณาปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ.
  11. นิคมคาถา : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  12. ปโรกฺข : ค. พ้นสายตา, เกินวิสัยของตา
  13. ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
  14. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  15. รสฺสตฺต : นป. ความสั้น
  16. สหาร : ป. การตัดให้สั้นเข้า, การรวบรวม
  17. อฑฺฒทณฺฑก : นป. ไม้เท้าครึ่งท่อน,ไม้เท้าสั้น
  18. อฑฺฒสร : (ปุ.) เสียงกึ่ง, เสียงครึ่ง, (กึ่งเสียงครึ่งเสียง), อัฒสระ(เสียงกึ่งสระของสระสั้น).พยัญชนะที่เป็นอัฒสระคือยรลวสหฬสันสกฤติอัฒสระมี๔ตัวคือยรลว.ส.อรฺธสร.
  19. อติรสฺส : ค. สั้นมาก
  20. อิตฺตรกาล : ป. เวลาอันสั้น
  21. อินฺทุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ (ใหญ่กว่า ดาว กล่าวตามที่สายตามองเห็น). วิ. อินฺทติ นกฺขตฺตานํ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ อินฺทุ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อุ. ณุ วา ส. อินฺทุ.
  22. อิลฺลิยา : อิต. กระบี่, ดาบสั้น, กฤช
  23. ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
  24. ทูสน : นป. ดู ทุสฺสน
  25. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  26. นิชิคึสนตา : อิต. ดู นิชิคึสน
  27. นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
  28. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  29. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  30. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  31. สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
  32. สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
  33. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  34. หึสน : (นปุ.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
  35. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  36. อธิวาสนตา : อิต. ดู อธิวาสน
  37. กณฺณวิภูสน : นป. ดู กณฺณปูร
  38. กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
  39. กตุปาสน : ค. ผู้ชำนาญในการยิงลูกศร, นายขมังธนู
  40. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  41. กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
  42. กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
  43. กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
  44. กลฺยาณทสฺสน : ค. น่าดู, น่ารัก, งาม
  45. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  46. กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
  47. ขุสน : นป. การด่า, การบริภาษ
  48. คเวสน : นป. คเวสนา อิต. การแสวงหา, การค้นหา
  49. คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
  50. ฆตาสน : ป. ไฟ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-323

(0.0658 sec)