สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สาล : ป. ต้นไม้จำพวกต้นรัง
สาริก : (ปุ.) ต้นไม้, รัง, ต้นรัง, ต้นสาละ. วิ. สาหิ เภสชฺชาจริเยหิ นานาโรคสฺส ติกิจฺฉนตฺถาย ลายเตติ สาโล. สาสทฺโท อาจริเย, ลา อาทาเน, อ. เป็น สาฬ บ้าง. ส. สาล.
สาลกลฺยาณ : (ปุ.) ไม้ขานาง.
คหปติมหาสาล : (ปุ.) คหบดีผู้มหาสาล (มี ทรัพย์เก็บไว้ ๔0 โกฏิกหาปณะ ส่วนที่ ใช้สอยประจำวัน วันละ ๕ อัมมณะ).
ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
ขตฺติมหาสาล : (ปุ.) กษัตริย์ผู้มหาศาล วิ. มหนฺโต ธนสาโร เยสํ เต มหาสาลา. แปลง ร เป็น ล. ขตฺติโย จ โส มหาสาโล จาติ ขตฺติยมหาสาโล.
ขตฺติยมหาสาล : ป. กษัตริย์มหาศาล, กษัตริย์ที่มีพระราชสมบัติมาก
ทฺวิชมหาสาล : ป. พราหมณ์มหาศาล, คือพราหมณ์ผู้มีทรัพย์ที่เก็บไว้ ๘๐ โกฏิและสำหรับใช้สอย ๑๐ อัมพณะ
ปิตาสาล : ป. ไม้ประดู่
พิสาล : (วิ.) ใหญ่, กว้าง, กว้างขวาง, แผ่ไป, งาม, ไพศาล. ดู วิสาล.
มหาสาร, มหาสาล : ค. ผู้มั่งคั่ง
มหาสาล : (วิ.) ผู้มั่งคั่ง, ผู้มั่งมี, ผู้มหาศาล คือ ผู้เป็นใหญ่. ผู้ยิ่งใหญ่ในหน้าที่ต่างๆ เช่น กษัตริย์มหาศาล คือ กษัตริย์ผู้มีอำนาจมาก คหบดีมหาศาล คือ คหบดีผู้มีทรัพย์มาก เป็นต้น.
อินฺทสาล อินฺธสาล : (ปุ.) ไม้อ้อยช้าง, ไม้ ช้างน้าว.
จตุสาลา : (อิต.) ศาลามีหน้าสี่, ศาลามีมุขสี่, ศลาสี่หน้าศาลาสี่มุข. จตุมุข+สาลา ลบ มุข.
ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
สาลว สาฬว : (ปุ.) โลท. ต้นโลท. วิ. สลติ ปวตฺตีติ สาลโว สาฬโว วา. สลฺ คมเน, อโว. แกงอ่อม ต้มยำ ก็แปล ?.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.