Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ, สำนักงาน, พลังงาน, ปรมาณู, เพื่อ, สันติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ, 190 found, display 1-50
  1. จิรรตฺตาย : (อัพ. นิบาต) ต่อราตรีนาน, เพื่อ ราตรีนาน. อภิฯ.
  2. กฐิน : ๑. นป. ไม้สะดึง ; ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาเพื่อทำจีวร; ๒. ค. กระด้าง, แข็งทื่อ, เคร่งตึง
  3. กฐินทุสฺส : นป. ผ้ากฐิน, ผ้าที่ถวายพระสงฆ์ประจำปีเพื่อทำจีวร
  4. กปฺปพินฺทุ : (นปุ.) จุดอันสำเร็จ, จุดอัน สมควร, จุดอันภิกษุทำบนผ้าให้เป็นของ ควรใช้สอย, กัปปพินทุ คือจุดที่พระทำบน ผ้าของพระ เพื่อทำให้เสียสีหรือเพื่อเป็น เครื่องหมายให้จำได้.
  5. กมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, ทำไม
  6. กมฺมปตฺต : ค. ผู้ถึงกรรม, (ภิกษุ) ผู้เข้ามาท่ามกลางสงฆ์ เพื่อทำสังฆกรรม
  7. กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
  8. กาตเว : อ. เพื่อกระทำ
  9. กาตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันทำ, ผู้ต้องการทำ, ผู้สนใจทำ.
  10. กาตุกามตา, กาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อทำ, ความประสงค์จะทำ
  11. กามตฺถกาม : ค. ผู้ปรารถนาความดีงาม, ผู้ใคร่เพื่อประโยชน์แก่กาม
  12. กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
  13. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  14. กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
  15. การี : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทำ วิ. อวสฺสํ เม กมฺมํ กาตํ  ยุตฺโตสีติ การี. ณี ปัจ. ส. การิ ศิลปิน, ช่าง.
  16. กิมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, เพื่ออะไร
  17. กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
  18. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  19. ขาทิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การเคี้ยวกิน, เพื่อเคี้ยวกิน
  20. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  21. คณฺหิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การถือเอา, การยึดเอา, เพื่อถือเอา, เพื่อยึดเอา
  22. คนฺตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันไป วิ. คนฺตํ กาโม คนฺตุกาโม.
  23. คมิก : (วิ.) ผู้ปราถนาเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ อิจฺฉตีติ คมิโก. ผู้ควรเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ ภพฺโพติ คมฺโก. ผู้จะไป ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คมิโก. อิก ปัจ. รูปฯ ๕๙๕.
  24. คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
  25. คมิกวตฺต : นป. วัตรของผู้จะเดินทาง, การเตรียมเพื่อจะเดินทาง
  26. คิลานภตฺต : นป. ศิลานภัต, อาหารเพื่อผู้ป่วย
  27. คิลานเภสชฺช : (นปุ.) ยาเพื่อภิกษุอาพาธ, ยาเพื่อ คนไข้, ยาสำหรับคนไข้, ฯลฯ.
  28. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  29. จกฺกลิ, - ลี : อิต. ผ้า, แผ่นผ้า, แผ่นผ้าที่ทำให้มีรูปเหมือนวงล้อเพื่อทำเป็นผ้าเช็ดเท้า
  30. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  31. จิราย : อ. เพื่อกาลนาน, ชั่วกาลนาน
  32. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  33. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  34. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  35. ฉนฺทก : นป. การออกเสียงเลือกตั้ง; การรวบรวมทานเพื่อภิกษุสงฆ์
  36. ชคฺฆ ชคฺฆิ : (ปุ.?) การร่าเริง, การรื่นเริง, การหัวเราะ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ชคฺฆฺ หสเน, อ, อิ. ชคฺฆิตาเย เพื่ออันหัวเราะ. ตาเย ปัจ.
  37. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  38. ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา
  39. ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.
  40. ชานิตุ : ก. การรู้, การเข้าใจ; เพื่ออันรู้, เพื่ออันเข้าใจ
  41. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  42. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  43. ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
  44. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  45. โชเตตุ : อ. (ปฐ. จตุ) การให้แสงสว่าง, การอธิบายความ, เพื่อให้แสงสว่าง, เพื่ออธิบายความ
  46. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  47. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  48. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  49. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  50. ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-190

(0.0390 sec)