มุทฺทา : (อิต.) ตรา, ตราประทับ, เครื่องสำหรับตีตรา, เครื่องหมาย, รอย, แหวน, แหวนตรา, พิมพ์ (รูปแบบ), ลัญจกร.
พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
ติตฺถิยาราม : ป. สำนักของเดียรถีย์
ตุมฺหมูล : (นปุ.) ที่ใกล้แห่งท่าน, สำนักของ ท่าน, สำนักท่าน.
เทวกุล : (นปุ.) ที่อยุ่ของเทวดา, เรือนของ เทวดา, สำนักของเทวดา, ศาลเจ้า, ศาลเทพารักษ์, ที่ของเทพารักษ์, ที่เทพารักษ์.
นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
มหามจฺจาลย : (ปุ.) สำนักนายกรัฐมนตรี คือที่ทำ งานของอำมาตย์ผู้ใหญ่ เป็นศูนย์รวมงานของประเทศ.
มุทฺทงฺกณ : นป. การพิมพ์
มุทฺทนยนฺตาลย : (ปุ.) โรงพิมพ์
มุทฺทาปก : ป. คนพิมพ์, คนประทับตรา
มุทฺทาเปติ : ก. ตีพิมพ์, ตีตรา
มุทฺทามสิ : (ปุ. นปุ.) หมึกพิมพ์.
ราชกุล : นป. ราชตระกูล, ราชสำนัก
ราชเคห, - ภวน, - มนฺทิร : นป. พระราชวัง; ราชสำนัก
เสวก : (ปุ.) ข้าเฝ้า, อำมาตย์, เสวก(เส+วก ข้าราชการในราชสำนัก). เสวฺเสวเน, ณฺวุ.
โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
อสนฺติเก : สัต. ในที่ไม่ใกล้, ในที่มิใช่สำนัก
อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
อาฬาร อาฬารตาปส : (ปุ.) อาฬารดาบส ชื่อดาบสหัวหน้าสำนัก ซึ่งพระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอนผนวชใหม่ ๆ.
อุทฺทก : (ปุ.) อุททกดาบส ชื่อดาบสซึ่ง พระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอน ผนวชใหม่ ๆ และทรงได้อรูปฌานที่ ๔ จากสำนักนี้.
พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
พิมฺพิ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ.
พิมฺพิ, พิมฺพิกา, พิมฺพี : อิต. มะกล่ำหลวงตำลึง
พิมฺพุ : ป. ต้นพลู