Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำรวม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำรวม, 30 found, display 1-30
  1. ยตติ : ก. พยายาม, อุตส่ห์; สำรวม
  2. อวกฺขิปติ, (โอกฺขิปติ) : ก. โยนลง, ขว้างลง, สำรวม, คุ้มครอง
  3. กายสวร : ป. การสำรวมกาย, การควบคุมกาย
  4. ขิตฺตจกฺขฺ : (วิ.) ผู้มีจักษุอันซัดไปแล้ว, ผู้ไม่ สำรวมจักษุ.
  5. ขิตฺตจิตฺต : (วิ.) ผู้มีจิตฟุ้งซ่าน, ผู้ไม่สำรวมจิต.
  6. จาตุยาม : ป. สังวรมีสี่ส่วน, สังวรมีสี่อย่าง, การสำรวมโดยส่วนสี่
  7. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  8. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  9. นตงฺต : (วิ.) มีอินทรีย์อันสำรวมแล้ว. นต+องฺค.
  10. ปฏิสยมติ : ก. สำรวม, ระวัง, ควบคุม (ตนเอง) , เหนี่ยวรั้งจิตใจ
  11. ปตฺตสญฺญี : ค. ผู้มีความสำรวมในบาตร
  12. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  13. ปาฏิโมกฺขสวร : ป. การสำรวมในพระปาฏิโมกข์
  14. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  15. ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
  16. ยตฺต : กิต. พยายามแล้ว, สำรวมแล้ว
  17. ยตินฺทฺริย : (วิ.) ผู้มีอินทรย์อันสำรวมแล้ว.
  18. ยาม : (ปุ.) การสำรวม, ความสำรวม, การจำศีล. ยมุ วิรมเณ, โณ.
  19. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  20. วจีคุตฺต : ค. ผู้สำรวมคำพูดได้
  21. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  22. สยต : กิต. สำรวมแล้ว
  23. สยม : ป. การสำรวม
  24. สยมติ : ก. สำรวม, บังคับใจตน
  25. สวร : ป., สํวรณ นป. ความสำรวม
  26. สวรติ : ก. สำรวม, ปกปิด
  27. สวิหิต : กิต. สำรวมแล้ว
  28. สวุต : กิต. สำรวมแล้ว
  29. อสญฺญต : ค. ไม่สำรวม, ไม่ระวัง
  30. อินฺทฺริยสวร : (นปุ.) ความสำรวมซึ่งอินทรีย์, อินทรีย์สังวร คือการสำรวมอายตนะ ภายใน ๖.
  31. [1-30]

(0.0126 sec)