ปณีย : ๑. ป. พ่อค้า, คนขายของ ;
๒. นป., ค. ของที่ขาย, สินค้า; ซึ่งควรซื้อขาย, สำหรับขาย
ภณฺฑ, - ฑก : นป. สิ่งของ, สินค้า
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
กุกฺกุฏฐก, - กุตฺถก : ป. ไก่เถื่อน, ไก่ป่า, นกกวัก
คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
โคณสิร : (ปุ.) วัวเถื่อน?
จงฺโกร : (ปุ.) ไก่ป่า, ไก่เถื่อน.
จลนี : (ปุ.) เนื้อฉมัน, เนื้อสมัน, ไก่เถื่อน, ลิงลม, บ่าง, เลียงผา, ชนี.
เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ธนาธานี : (อิต.) เมืองแห่งทรัพย์, เมืองเป็นที่ เก็บซึ่งทรัพย์, คลังที่เก็บทรัพย์, คลังที่ เก็บสินค้า, คลังสินค้า, กุดังสินค้า, โกดังสินค้า.
ปฏิภณฺฑ : นป. ของหรือสินค้าแลกเปลี่ยน
ภณฺฑาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ไว้ของ, เรือนสำหรับเก็บของ, โรงไว้ของ, โรงเก็บของ, เรือนคลัง, กุดัง, โกดัง, คลังสิ่งของ, คลังสินค้า.
มิลกฺข : ป. คนป่าเถื่อน
มิลกฺขชาติ : อิต. คนป่าเถื่อน
มิลกฺข มิลกฺขุ : (ปุ.) คนป่า, คนป่าเถื่อน, ชาวป่า, คนร้าย. มิลกฺข อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อุ.
สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
อนริย : (วิ.) มิใช่เป็นวัตรปฏิบัติของพระอริยะ, มิใช่ของพระอริยะ, อันไม่ประเสริฐ, ไม่ประเสริฐ.ส.อนารยไม่เจริญ, ป่าเถื่อน.
อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
ขณติ : ก. ขุด, ถอน, ทำลาย
นิกฺขิปติ : ก. วางไว้, เก็บไว้, เลิก, ถอน, บอกคืน
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
ตาลาวตฺถุตก : ค. ต้นตาลที่มีรากขาดแล้ว, ต้นตาลที่ถอนรากแล้ว
ถุนาติ : ก. ทอดถอน, คร่ำครวญ; ประกาศ, กล่างถึง, ชมเชย
เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
ทาต : ค. ซึ่งถูกตัด, ซึ่งถูกถอน, ซึ่งขาด
นิฑฺฑาเปติ : ก. ให้ตัดออก, ให้ถอนออก, ให้สะสาง, ให้ถอนขึ้น
นิฑฺฑายติ : ก. ตัดออก, ถอนออก, สะสาง
นิตฺถนน : นป. การส่งเสียง, การคร่ำครวญ, การทอดถอน
นิตฺถนาติ : ก. ส่องเสียง, คร่ำครวญ, คราง, ทอดถอน
นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
นิตฺถุนน : (นปุ.) การทอดถอน, การถอนใจ. นิบทหน้า ถุธาตุ นาปัจ. ประจำหมวดธาตุ รัสสะ อา เป็น อ ยุ ปัจ.
นิทฺธุน, นิทฺธุนน : นป. การกำจัด, การถอนออก, การสลัดออก
นิทฺธุนาติ : ก. กำจัด, ถอนออก, สลัดออก
นิพฺพหติ : ก. ดึงออก, ถอนออก
ปจฺจุทฺธรณ : นป. การถอนคืน
ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
โลจก : ค. ผู้ลาก, ผู้ดึง, ผู้ถอน
วฺยนฺตีกโรติ : ก. ยกเลิก, ถอนออก
วิกฺขมฺภ : ป. ๑. เส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม;
๒. การข่ม, การถอนออก
วิกฺขมฺเภติ : ก. ข่ม, ถอนออกทิ้งไป
วิยูหติ : ก. ถอนออก, กระจายไป
วิยูหน : นป. การถอนออก, การกระจายไป
วิยูฬฺห : กิต. ถอนออกแล้ว
สมุคฺฆาต : ป. การถอนขึ้น
สมุคุฆาต : (ปุ.) การกำจัดเสีย, การถอนออก, การถอนออกเสีย. สํ อุ ปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, โณ.
สมุจฺฉินฺทติ : ก. ถอนราก, ทำลาย, ตัดขาด