อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้ง ๓ ครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
ขณลย : (ปุ.) ขณลยะ สิบลยะเป็น ขณลยะ (๑ ขณลยะ) ทส ลยา ขณลโย นาม.
ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
จตฺตารีสก : ค. มีจำนวนสี่สิบ
จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
จตฺตาฬีส, - ตารีส : ค. สี่สิบ
จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
จตฺตาฬีสภิกฺขุสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งภิกษุสี่สิบ (ภิกษุสี่หมื่นรูป).
จตุจตฺตาลีส จตุจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบยิ่งด้วย สี่, สี่สิบสี่. วิ. จตูหิ อธิกา จตฺตาสีสํ จตุจตฺตาลีสํ จตุจตฺตาฬีสํ วา.
จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
จตุจตฺตาฬีสติ : อิต. สี่สิบสี่
จตุตึส จตุตฺตึส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยสี่, สาม สิบสี่.
จตุทฺทส : ค. สิบสี่
จตุทฺทสม : (วิ.) ที่สิบสี่ จตุทฺทส + ม ปัจ.
จตุทส จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยสี่, สิบสี่.
จตุนวุติ : ค. เก้าสิบสี่
จตุปญฺญาส, - ปณฺณาส : ค. ห้าสิบสี่
จตุราสีติ : ค. แปดสิบสี่
จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
จตุราสีติสหสฺส : (นปุ.) พันแปดสิบสี่เป็นประ มาณ, พันแปดสิบสี่, แปดหมื่นสี่พัน.
จตุสฏฐิ : ค. หกสิบสี่
จตุสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบสี่
จาตุทฺทสี : (วิ.) (ดิถี.) ที่สิบสี่ วิ. จตุทฺทสนฺนํ ปูรณี จาตุทฺทสี อี ปัจ. ปูรณตัท.
จุทฺทส : ค. สิบสี่
จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
จูฬาสีติ : ค. แปดสิบสี่
โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
โจทฺทส : ค. สิบสี่
โจทส โจทฺทส : (อัพ. นิบาต) สิบสี่. ดู จุทฺทส.
ฉจตฺตาฬีส, - ฬีสติ : อิต. สี่สิบหก
ฉทน : (นปุ.) การปิด, การบัง, ที่เป็นที่มุง, เครื่องมุง, หลังคา, ใบ, ใบไม้. ยุ ปัจ. ฉทส (ไตรลิงค์) หกและสิบ, สิบยิ่งด้วยหก, สิบหก.
ฉนวุติ : ค. เก้าสิบหก
ฉปฺปญฺญาส : ค. ห้าสิบหก
ฉสฏฺฐี : ค. หกสิบหก
ฉสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบหก
ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
เตจตฺตาฬีส, - สติ : ค. (อิต.) สี่สิบสาม
เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
เตนวุติ : ค. (อิต.) เก้าสิบสาม
เตปญฺญาส, - ติ : ค. ห้าสิบสาม
เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
เตรสม : (วิ.) ที่สิบสาม. เตรส+ม ปัจ.
เตสฏฺฐี : ค. (อิต.) หกสิบสาม
เตสตฺตติ : อิต. เจ็ดสิบสาม
เตอสีติ (ตฺยาสีติ) : ค. (อิต.) แปดสิบสาม