ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
วตฺถุ : นป. พัสดุ, สิ่งของ, เรื่อง, พื้นที่
สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
กปฺปิยภณฺฑ : (นปุ.) สิ่งของอันสมควร, สิ่งของ อันสมควรแก่สมณะ, กัปปิยภัฑ์ สิ่งของที่ ภิกษุใช้ได้ไม่ผิดพระวินัย.
คิลาน, คิลานก : ค. ผู้เจ็บป่วย, ผู้เป็นไข้; (สิ่งของ) ที่เหมาะกับความป่วยไข้, ที่เหมาะกับโรค
ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
ภณฺฑ, - ฑก : นป. สิ่งของ, สินค้า
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปิยวตฺถุ : (นปุ.) สิ่งของอันสมควร, ฯลฯ, กัปปิยวัตถุ สิ่งของที่ภิกษุบริโภคได้ หรือ ใช้ได้ ไม่ผิดพระวินัย.
จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
โจร : (ปุ.) ขโมย (ผู้ลักสิ่งของ), โจร (ผู้ร้าย ลักปล้น). จุรฺ เถยฺเย, โณ. ส. โจร.
ทินฺนทาน : นป. ทานที่บุคคลให้แล้ว, สิ่งของที่ให้ทานไปแล้ว
นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
ปวารณา : อิต. การเปิดโอกาสให้ตักเตือนกันในคราวออกพรรษาของสงฆ์; การอนุญาตให้ขอสิ่งของได้, การเปิดโอกาส
พฺยาภงฺคี : (อิต.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบสิ่งของต่างๆ วิ. วิวิธํ ภาร มาราญฺชนฺติ โอลมฺพนฺติ ยสฺสํ สา วฺ-ยาภงฺคี พฺยาภงฺคี วา.
พหุภณฺฑ : ค. มีภัณฑมาก, มีสิ่งของมาก
พาหิรภณฺฑ : นป. ทรัพย์สมบัติภายนอก, สิ่งของภายนอกกาย
ภณฺฑาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ไว้ของ, เรือนสำหรับเก็บของ, โรงไว้ของ, โรงเก็บของ, เรือนคลัง, กุดัง, โกดัง, คลังสิ่งของ, คลังสินค้า.
สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
สมฺปุฎ : (ปุ.) หีบ, ผอบ, ตลับ, ตะกร้า, กล่อง, กล่องข้าว, ลุ้ง, สมุก ชื่อภาชนะสานกัน ๔ มุมมีฝาครอบ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. สํปุพฺโพ, ปุฎ. สํกิเลสเน, อ. ส. สมฺปุฎ.
อญฺญทตฺถหร : (ปุ.) คนนำสิ่งของของเพื่อนไปถ่ายเดียว, คนปอกลอก.
อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
อามิสทาน : นป. อามิสทาน, การให้สิ่งของ
อารามวตฺถุ : (นปุ.) สิ่งของของวัด, พื้นที่สำหรับสร้างวัด, ที่สวน.
โอก โอกฺลาป : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษสิ่งของที่ ทิ้งแล้ว มูลฝอยก็เรียก).