จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
ขร : (วิ.) เฉียบแหลม, กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, หยาบ, ขรุขระ. ขรฺ วินาเส, อ.
โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
ทมิฬ : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย. ทุ หึสายํ, อิโล. ลง นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุแปลง นา เป็น มา อุ เป็น อ ล เป็น ฬ.
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
ทุฎฺฐุลฺล : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ลามก, หยาบ, ชั่ว หยาบ, หยาบช้า, ชั่วช้า, ตลกคะนอง. วิ. ทุฎฺฐุ นิสฺสิตํ ทุฎฺฐุลฺลํ. ทุฎฺฐุ ฐานํ วา ทุฏฺฐุลฺลํ. ล ปัจ. แปลงเป็น ลฺล นิสสิตตัท. รูปฯ ๓๖๘.
ทุฏฺฐุ : (อัพ. นิบาต) ติเตียน, นินทา, ชั่ว, ร้าย, น่าเกลียด. วิ ทุฏฺฐาติ ปวตฺตติ อสุนฺทรภาเวนาติ ทุฏฺฐุ. ทุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อุ. ฏฺสํโยโค.
ปาป : ๑. นป. ความชั่ว, ความเลวทราม, ความไม่ดี;
๒. ค. ชั่ว, ร้าย, ไม่ดี, เป็นบาป
พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
พาฬ : (วิ.) กักขละ, กักขฬะ, แข็ง, สาหัส, หยาบช้า, หยาบคาย, ร้าย, ร้ายกาจ, ทารุณ. วิ. อา ปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. วา คมเน วา, อโฬ.
วาล : ๑. ป. ขนหางสัตว์, ขนสัตว์;
๒. ค. ดุร้าย, ร้าย
วาฬ : ค. ดุร้าย, ร้าย
อุคฺค : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, แข็ง แรง, อุชฺ พเล, อ, ชสฺส คฺโค, ส. อุคฺร.
เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
กุลทตฺติก, - ติย : ค. (สิ่ง) ที่ตระกูลมอบให้
เกยฺย : ค. (สิ่ง) ที่ควรซื้อ
จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
จินฺเตยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงคิด, ที่ควรดำริ, ที่ควรไตร่ตรอง
ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
ปีตาวเลปน : นป. (สิ่ง) ที่ลูบไล้ด้วยสีเหลือง, การลูบไล้ด้วยสีเหลือง
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
อหิวาตกโรค : (ปุ.) โรคอันบังเกิดแล้วแต่ลมมีพิษเพียงดังพิษแห่งงู, โรคอันบังเกิดแต่ลมมีพิษราวกะว่าพิษแห่งงู, โรคอันเกิดแต่ลมมีพิษประดุจงู (ร้าย).
ฏงฺก : ป. สิ่ง, เครื่องมือสกัดหิน
อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ;
๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
กตกรณีย : ค. ผู้ทำสิ่งที่ควรทำ, ผู้มีกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
กตฺตพฺพ, -ก : ๑. นป. สิ่งที่ควรทำ, หน้าที่การงาน, ข้อผูกพัน;
๒. ค. พึงทำ, ควรทำ
กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
กตถทฺธ : ค. ผู้มีใจโหดร้าย
กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
กตม : ค. อันไหน, คนไหน, สิ่งไหน
กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
กนฺทล : ป., นป. ชื่อของต้นไม้อย่างหนึ่งมีดอกขาว; วัด; ลางร้าย
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กปฺปิยากปฺปิย : นป. สิ่งที่ควรและไม่ควร
กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
กลฺยาณกาม : ป., ค. ใคร่ในสิ่งที่ดีงาม