เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
กุลทตฺติก, - ติย : ค. (สิ่ง) ที่ตระกูลมอบให้
เกยฺย : ค. (สิ่ง) ที่ควรซื้อ
จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
จินฺเตยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงคิด, ที่ควรดำริ, ที่ควรไตร่ตรอง
ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
ปีตาวเลปน : นป. (สิ่ง) ที่ลูบไล้ด้วยสีเหลือง, การลูบไล้ด้วยสีเหลือง
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
ฏงฺก : ป. สิ่ง, เครื่องมือสกัดหิน
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ;
๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
กตกรณีย : ค. ผู้ทำสิ่งที่ควรทำ, ผู้มีกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
กตฺตพฺพ, -ก : ๑. นป. สิ่งที่ควรทำ, หน้าที่การงาน, ข้อผูกพัน;
๒. ค. พึงทำ, ควรทำ
กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
กตม : ค. อันไหน, คนไหน, สิ่งไหน
กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กปฺปิยากปฺปิย : นป. สิ่งที่ควรและไม่ควร
กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
กลฺยาณกาม : ป., ค. ใคร่ในสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณการี : ค. ผู้ทำสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณกุสล : ค. ผู้ฉลาดหรือชำนาญในสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณปีติ : ค. ผู้ยินดีในสิ่งที่ดีงาม
กาตพฺพ : ๑. นป. ธุระ, หน้าที่, งานที่ควรทำ;
๒. ค. สิ่งที่ควรกระทำ
กามท, - ทท : ค. ซึ่งให้สิ่งที่น่าปรารถนา
กามปาล : ป. การบำรุงกาม, การรักษาสิ่งที่ประสงค์
กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
กายคต : ค. สิ่งที่ไปในกาย, สิ่งที่อยู่ในกาย
กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
การาปก : ป., นป. คนหรือสิ่งที่ให้ทำ
กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
กาลุสิย : นป. ของปฏิกูล, สิ่งสกปรก
กิจฺจกรณีย : นป. กรณียกิจ, สิ่งที่ควรทำตามหน้าที่
กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
กิจฺจากิจฺจ : นป. สิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำ
กิญฺจิกฺข : นป. สิ่งเล็กๆ น้อยๆ
กิเลส : ป. กิเลส, สิ่งที่ทำใจให้เศร้าหมอง
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
กุหณา, - นา : อิต. การหลอกลวง, การโกง, การฉ้อฉล; สิ่งที่เป็นอันตราย
ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.