กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
สฐ : ค. ฉ้อฉล, ปลอม, โอ้อวด
อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
อจฺฉร อจฺฉริย อจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลก ประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวง อัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ. ส. อาศิจรฺย อาศฺจรฺยฺย.
อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
กตก : (วิ.) อันคนทำ, ที่คนทำ. กต+ก ปัจฯ รูปฯ ๓๖๙. แกล้งทำ, เทียม, ปลอม. อภิฯ
กุลทตฺติก, - ติย : ค. (สิ่ง) ที่ตระกูลมอบให้
เกยฺย : ค. (สิ่ง) ที่ควรซื้อ
จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
จินฺเตยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงคิด, ที่ควรดำริ, ที่ควรไตร่ตรอง
นิกติ : (วิ.) โกง, ล่อลวง, ปลอม.
ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
ปีตาวเลปน : นป. (สิ่ง) ที่ลูบไล้ด้วยสีเหลือง, การลูบไล้ด้วยสีเหลือง
ปุววิกติ : (ปุ.) ขนมอันบุคคลทำให้หลาก. หลากคือต่างๆ แปลก เลิศลอย.
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ;
๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
กตกรณีย : ค. ผู้ทำสิ่งที่ควรทำ, ผู้มีกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
กตฺตพฺพ, -ก : ๑. นป. สิ่งที่ควรทำ, หน้าที่การงาน, ข้อผูกพัน;
๒. ค. พึงทำ, ควรทำ
กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
กตม : ค. อันไหน, คนไหน, สิ่งไหน
กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กปฺปิยากปฺปิย : นป. สิ่งที่ควรและไม่ควร
กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
กลฺยาณกาม : ป., ค. ใคร่ในสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณการี : ค. ผู้ทำสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณกุสล : ค. ผู้ฉลาดหรือชำนาญในสิ่งที่ดีงาม
กลฺยาณปีติ : ค. ผู้ยินดีในสิ่งที่ดีงาม
กสกูฏ : นป. การโกงด้วยโลหะปลอม
กาตพฺพ : ๑. นป. ธุระ, หน้าที่, งานที่ควรทำ;
๒. ค. สิ่งที่ควรกระทำ
กามท, - ทท : ค. ซึ่งให้สิ่งที่น่าปรารถนา
กามปาล : ป. การบำรุงกาม, การรักษาสิ่งที่ประสงค์
กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
กายคต : ค. สิ่งที่ไปในกาย, สิ่งที่อยู่ในกาย
กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
การาปก : ป., นป. คนหรือสิ่งที่ให้ทำ
กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
กาลุสิย : นป. ของปฏิกูล, สิ่งสกปรก
กิจฺจกรณีย : นป. กรณียกิจ, สิ่งที่ควรทำตามหน้าที่
กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.