กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
นิพฺพตฺต : (วิ.) แล้ว (เสร็จสิ้น สุดสิ้น จบ.), เสร็จ, สิ้น, สุดสิ้น, จบ, สำเร็จ. นิปุพฺโพ, วตฺตฺ วตฺตเน, อ, วสฺส โพ, พฺสํโยโค.
พฺยย : (วิ.) หมดไป, เสื่อม, สิ้น, สิ้นเปลือง, ฉิบหาย, พินาศ. วฺยยฺ ขเย, อ.
อนุกงฺขี : ค. จำนง, หวัง, ปรารถนา
อภิกงฺขติ : ก. ปรารถนา, จำนง, หวัง
อภิสึสติ : ก. ปรารถนา, จำนง, หวัง
อาสยติ : ก. ประสงค์, ปรารถนา, หวัง
อาสสาน : ค. ปรารถนา, หวัง
อุทิกฺขติ : ก. มองดู, ตรวจดู; หวัง; ริษยา
อุลฺโลเลติ : ก. โลเล, เหลาะแหละ, ปั่นป่วน; หวัง, จำนง
กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
ปฏิกงฺขติ : ก. หวัง
อาสึสนก : ค. หวัง
สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
อนสฺสน : นป. ความไม่เสียหาย, การไม่สูญสิ้น
อาสสน : นป. ความหวัง, ความประสงค์
อาสึสน : (นปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
กงฺขี : ค. ผู้สงสัย, ผู้หวัง
กปฺปกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งกัป, ขัยกัป, ขัยกัลป์. วิ. กปฺโป จ โส ขโย จาติ กปฺปกฺขโย. ซ้อน กฺ.
กปฺปกาล : ป. กาลที่สิ้นอายุของโลก
กปฺปปริวตฺต : นป. การหมุนเวียนแห่งกัป, ความเจริญแห่งกัป, ความสิ้นสุดแห่งโลก
กปฺปหลาหล : นป. ความโกลาหลในกาลใกล้จะสิ้นกัลป์
กมฺมกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งกรรม
กสิณ : (วิ.) ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ล้วน. กสฺ คมเน, อิโณ.
กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
กาฬปกฺข : (ปุ.) ข้างดำ, ฝ่ายดำ, ข้างแรม (ส่วนของเดือนทางจันทรคติ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ ถึงสิ้นเดือน), กาฬปักข์, กาฬปักษ์. กาฬผลก
กิเลสกฺขย : ป. ความสิ้นแห่งกิเลส
เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
เกวลกปฺป : (ปุ.) การกำหนดทั้งสิ้น, กัปทั้งสิ้น.
เกวลปริปุณฺณ : ค. บริบูรณ์โดยสิ้นเชิง, ครบบริบูรณ์
เกวลี : ค. ผู้หมดกิเลสโดยสิ้นเชิง (พระอรหันต์)
ขณาตีต : ค. ล่วงโอกาส, พลาดหวัง
ขนฺธเภท : (ปุ.) การทำลายขันธ์ (แตกดับ สิ้นชีวิต ตาย).
ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
ขีณ : กิต. สิ้นไปแล้ว, หมดไปแล้ว; ทำลายแล้ว
ขีณตา : อิต. ขีณตฺต นป. ความสิ้นไป, ความหมดไป
ขีณพีช : ค. ผู้มีพืชคือตัณหาสิ้นแล้ว
ขีณาสว : (วิ.) ผู้มีอาสวะสิ้นแล้ว วิ. ขีณา อาสวา ยสฺส โส ขีณาสโว.
ขียติ : ก. สิ้นไป, หมดไป; ทำลาย, สังหาร
ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
ขีรมุข : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
เขเปติ : ก. ปล่อยให้สิ้นไป (เวลาหรือสมบัติ), ให้เวลาล่วงเลยไป
คนฺธาสา : อิต. ความหวังหรืออยากในกลิ่น
คิลาน : (วิ.) สิ้นความสำราญ, เจ็บไข้, เป็นไข้, ไม่สบาย.
จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
จตุมาสจฺจย : (วิ.) อันเป็นไปล่วงแห่งเดือนสี่, อันเป็นไปล่วงสิ้นเดือน ท. สี่, สิ้นเวลา สี่เดือน.