สีต : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น. วิ. อุณฺหาภิตตฺเตหิ เสวียตีติ สีตํ. สิ เสวายํ, โต, ทีโฆ.
สีต สีตล : (วิ.) หนาว, เย็น. ส. ศีต. ศีตล.
สิต : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด. สิตฺ สิตวณฺเณ, อ. ส. สิต.
สีตรสิ : (ปุ.) ดวงจันทร์, พระจันทร์. วิ. สีตา รํสโย ยสฺส โส สึตรํสิ.
สีตภีรุก : ค. กลัวจนตัวเย็น
สีตรสี : ค. มีรัศมีเย็น ; ดวงจันทร์
โคสีตจนฺทน : (นปุ.) จันทร์เย็นเหมือนน้ำ วิ. โค วิย อุทกํ วิย สีตํ จนฺทนนฺติ โคสีตจนฺทนํ.
กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
กุสีต : ค. เกียจคร้าน, เฉื่อยชา
สต : ๑. นป. ร้อย;
๒. ค. มีสติ;
๓. กิต. ระลึกได้, จำได้แล้ว
อติสีต : (วิ.) หนาวยิ่ง, หนาวนัก, หนาวมาก.
สีตา : (อิต.) รอยไถ วิ. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตา ยาติ สีตา, นงฺคลเลขา. สิ พนฺธเน. โต, ทีโฆ. ส. สีตา.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
อุทีจิ : (อิต.) ทิศเหนือ, ทิศอุดร. วิ. อุทฺธํ อํจติ ยสฺสํ สา อุทีจิ. ยสฺสํ วา รวิ สีตวิโยคตํ ทตฺวา วญฺจติ สา อุทีจิ. อุทฺธํปุพฺโพ, อํจฺ คมเน, อิ. ส. อุทีจิ.
สิตพฺภ : (ปุ.) การบูร วิ. อพฺภ มิว สิตํ สิตพูโภ.
สตปาก : นป. น้ำมันหุงร้อยครั้ง
สตสหสฺส : นป. แสน
สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
สิตรสำ : (ปุ.) สิตรังษี ชื่อของพระจันทร์ พระจันทร์.
กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
หสิต : (นปุ.) การหัวเราะ, ฯลฯ, วิ. หสนํ หสิตํ. ต ปัจ. อิ อาคม. ส. หสิต.
อุทฺโทสิต : (ปุ.) โรงไว้ของ, โรงเก็บของ. วิ. อุทกํ วสิต มจฺฉาทนํ, กต เมเนนาติ อุทฺโทสิโต. อุทฺธ
กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
โคสิต : ค. อันผสมด้วยน้ำนมโค
โฆสิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, อันเขาป่าวร้องแล้ว
ตสิต : ค. ไหว, สะดุ้งแล้ว, กระหาย, อยาก
ตุสิต : (ปุ.) ดุสิต ชื่อเทวโลกชั้นที่ ๔ ชื่อสวรรค์ ชั้นที่ ๔, ภพชื่อดุสิต, สวรรค์ชั้นดุสิต.
ตุสิตปุร : นป. เทวโลกชั้นดุสิต
ตุสิตภวน : (นปุ.) ภพชื่อดุสิต, ภพดุสิต.
เตจตฺตาฬีส, - สติ : ค. (อิต.) สี่สิบสาม
ทฺวตฺตึส, - สติ : ค. สามสิบสอง
ทฺวิปญฺญาส, - สติ : ค. ห้าสิบสอง
ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว;
๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
ทุพฺภาสิต : (นปุ.) คำอันเป็นทุพภาษิต.
ทุสฺสิตตฺต : นป. ความที่จิตถูกโทษประทุษร้าย, ความโกรธเคือง
ทูสิต : ๑. กิต. (อันเขา) ประทุษร้ายแล้ว,ทำร้ายแล้ว, ทำให้เสียหายแล้ว;
๒. ค. (จิต) ซึ่งโทษประทุษร้าย, ซึ่งชั่วร้าย
เทสิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว, เทศน์แล้ว
เทหนิสฺสิต : ค. ซึ่งอาศัยกาย, ซึ่งเนื่องด้วยร่างกาย, ซึ่งอยู่ในร่างกาย
นิทสฺสิต : ค. อัน...ชี้แจงแล้ว, อัน...อธิบายแล้ว, อัน...แสดงแล้ว, ซึ่งถูกอ้างถึงแล้ว
นิพฺพุสิตตฺตา : อิต. จิตที่ถูกกระทบ, จิตกวัดแกว่ง, จิตดิ้นรน
นิสฺสิต : กิต. อาศัยแล้ว
ปกฺโกสิต : กิต. ร้องเรียกแล้ว
ปกาสิต : กิต. ประกาศแล้ว
ปฏิโรสติ, - เสติ : ก. โกรธตอบ, ขุ่นเคืองตอบ, เสียดสีตอบ