สีมา : อิต. เขต, แดน
อุทกุกฺเขปสีมา : (อิต.) อุทกุกเขปสีมา สีมา กำหนดด้วยการวักน้ำสาดโดยรอบด้วยมือ ของคนปานกลาง.
คามสีมา : (อิต.) สีมากำหนดด้วยเขตบ้าน, สีมามีเขตบ้านเป็นกำหนด.
อพทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์มิได้ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์มิได้ผูกแล้ว, อพัทธสีมาคือสีมายังมิได้ผูกนิมิตสีมาที่ยังมิได้ฝังลูกนิมิต
อสีมา : ค. ไม่ใช่สีมา, ไม่ใช่เขตกำหนด
สมา : (อิต.) ปี วิ. สามยติ ภาเวตีติ สมา. สมฺ วิตกฺเก. อ. อิตฺถิยํ อา.
ขณฺฑสีมา : (อิต.) เขตแดน, เขตแดนส่วนหนึ่งๆ.
พทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์ผูกแล้ว, พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆ์กำหนดขึ้น มีศิลาเป็นต้น เป็นครื่องหมายเขต.
รชฺชสีมา : อิต. เขตแดนแห่งราชอาณาจักร
สึมา : (อิต.) เขต, แดน, เขตแดน. วิ. สียเต สมคฺเคน สํเฆน กมฺมวาจาย พนฺธียเตติ สีมา. สึ พนฺธเน, โม, อิตฺถิยํ อา. รูปฯ ตั้ง สิ พนฺธเน. ทีฆะ อิ เป็น อี ส. สีมา.
ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
ทิฏฺฐวิปตฺติ : (อิต.) ความคลาดเคลื่อนโดยความเห็น, ความคลาดเคลื่อนด้วยความเห็น, วิบัติเพราะความเห็น, ทิฏฐิวิบัติ (เห็นผิดจากความเป็นจริง).
ทิฏฺฐิวิปตฺติ : อิต. ทิฐิวิบัติ, ความวิบัติแห่งความเห็น, ความเห็นวิบัติ, ความเห็นผิด
นสฺสกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักขระที่หายไป.อักษรที่หายไปเช่นรุธิธาตุสำเร็จรูปเป็นรุนฺธติอิหายไปดังนี้เป็นต้น,อักขรวิบัติ,อักษรวิบัติ.
ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
วิปชฺชติ : ก. วิบัติ, ถึงทุกข์
วิปชฺชน : นป. ความวิบัติ, ความถึงทุกข์
เวกลฺล : นป. ความบกพร่อง, ความขาดทุน, ความวิบัติ
สงฺโกจ : ป. การเบี้ยวบูด, การสยิ้วหน้า; รูปวิบัติ
สงฺฆกมฺม : นป. การกระทำของสงฆ์ ได้แก่ กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำในสีมา
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
อนฆ : (วิ.) ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความทุกข์, ไม่มีความวิบัติ, ไม่มีความฉิบหาย.น+อฆ.
อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
อาชีววิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งการเลี้ยงชีพ, ความเป็นผู้เลี้ยงชีพผิด
อุทกนิมิตฺต : (วิ.) มีน้ำเป็นเครื่องหมาย (สีมามี....)
สมาช : (นปุ.) การประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, ที่ประชุม, สมาคม. สํ อา ปุพฺโพ, อชฺ คติยํ, อ. ส. สมาช.
สมาธาน : (นปุ.) การตั้งไว้เสมอกัน, การตั้งไว้โดยชอบ. วิ. สมํ สมฺมา วา อาธานํ สมาธานํ.
สมากฑฺฒติ : ก. ฉุดคร่า
สมากิณฺณ : กิต. มุงกัน, ประชุมกัน, เกลื่อนกลาด
สมากุล : (วิ.) มัวพะวง. สห+อากุล ลบ หมฺ อาคม.
สมาคจฺฉติ : ก. ประชุมกัน
สมาจรณ : นป., สมาจาร ป. ความประพฤติชอบ
สมาจรติ : ก. ประพฤติชอบ
สมาทเปติ : ก. ชักชวน
สมาทหติ : ก. ตั้งใจ
สมานวาส : (วิ.) ผู้มีการอยู่ด้วยชนเสมอกัน.
สมาเนติ : ก. นำมาเปรียบ
สมาปชฺชติ : ก. ย่อมเข้าถึง
สมาปชฺชน : นป. การเข้าถึง
สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
สมาปน : (นปุ.) การชักชวนให้ถือเอาด้วยดี, การชักชวน, สํ อา ปุพฺโพ, ทยฺ อาทาเน, ยุ, ยสฺส โป.
สมาปนฺน : กิต. เข้าถึงแล้ว
สมาเปติ : ก. จบ, บริบรูณ์
สมายาติ : ก. มาร่วมกัน, รวมกัน
สมายิก : ค. เป็นไปตามสมัย, ชั่วคราว
สมาโยค : ป. การประกอบ, การบำเพ็ญ
สมารทฺธ : กิต. ปรารภแล้ว, เริ่มแล้ว
สมารภติ : ก. ปรารภ, เริ่ม