Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สึก , then ศึก, สก, สึก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สึก, 195 found, display 1-50
  1. วิพฺภมติ : ก. หมุนไปผิด, ละหน้าที่, สึก
  2. สก : (ปุ. นปุ.) ผัก (สำหรับทำกับข้าว). สา ปาเก, โก. ส. ศาก.
  3. สามุกฺกสึกธมฺม : (ปุ.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  4. ปริพฺภมติ : ก. หมุนไป, ท่องเที่ยวไป, สึก (จากพระ)
  5. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  6. วิพฺภนฺต : กิต. หมุนไปผิดแล้ว, ละหน้าที่, สึกแล้ว
  7. อมุต : กิต. ไม่รู้แล้ว, ไม่รู้สึกแล้ว
  8. อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
  9. อุปฺปพฺพชติ : ก. สึก, ละเพศบรรพชิต
  10. อุปฺปพฺพาเชติ : ก. ให้สึก, ให้ละจากบรรพชิตเพศ
  11. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  12. จตุรสฺส, - สก : ค. ซึ่งเป็นจัตุรัส, ซึ่งเป็นสี่เหลี่ยม, มีสี่มุม
  13. ตาลิส, - สก : นป. ต้นเฉียง ; ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้ (ได้ผงและน้ำมันมาจากต้นไม้ชนิดนี้)
  14. ทาส, - สก : ป. ทาส, คนรับใช้
  15. ปฏิวึส, - สก : ป. ส่วน, ส่วนแบ่ง
  16. ยาทิส, - สก : ค. อย่างไรก็ดี, เหมือนอย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม
  17. อาทาส, - สก : ป. กระจก, แว่น, คันฉาย, คันส่อง
  18. สกทาคามี : ป. ผู้จะมาเกิดอีกคราวเดียว - หมายถึงพระอริยบุคคล
  19. สกพล : นป. กำลังของตน, คำข้าวในปากของตน
  20. สกรณีย : ค. ผู้ยังมีกิจที่จะต้องทำ
  21. สกลิกา : อิต. เสิ้ยน, สะเก็ด
  22. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  23. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  24. ธมฺมโฆสก : ป. ธรรมโฆสก, ผู้ประกาศธรรม
  25. นปุสก : ป. นปุงสกลิงค์, ไม่ปรากฏเพศชายเพศหญิง, บัณเฑาะก์, กะเทย, ขันที
  26. นปุสกลิงฺค : (นปุ.) เพศบัณเฑาะก์, เพศ กะเทย, นปุงสกลิงค์ (ไม่ใช่เพศหญิงไม่ ใช่เพศชาย ไม่มีเพศ).
  27. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  28. มิคสก : (ปุ.) หมา วิ. มิคํ สกตีติ มิคสโก (ผู้สามารถจับหรือฆ่าเนื้อ), สกฺ สตฺติยํ, อ.
  29. มิสฺสก มิสฺสกวน : (นปุ.) มิสสกะ มิสสกวัน มิสกวัน ชื่อป่าหรือสวนของพระอินทร์ อุทยานของพระอินทร์ มีไม้ต่างๆ ระคนกัน.
  30. สุก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า, วิ โสกติ มนาเปน คมเนน คจฺฉตีติ สุโก. สุกฺ คติยํ, อ. สุนฺทรํ สุฏฐุ วา มนุสฺสสทฺทํ กายตีติ วา สุโก. สุนฺทรปุพฺโพ, กา สทฺเท, อ.
  31. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  32. หึสก : (วิ.) ผู้เบียดเบียน, ผู้ทำร้าย, ผู้ประทุษร้าย. หิสิ หึสายํ, ณฺวุ. ส. หึสก.
  33. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  34. กณฺฑุสก กณฺฑูสก : (นปุ.) ดุม, กระดุม, ลูกดุม, ลูกกระดุม.
  35. กปิสีสก : (ปุ.) ไม้หัวลิง, ต้นหัวลิง.
  36. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  37. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  38. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  39. กสก, - สิก : ป. ชาวนา, คนไถนา
  40. กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
  41. กสฺสกปุตฺต : (ปุ.) ลูกชาวนา.
  42. กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
  43. กิพฺพิส, กิพฺพิสก : นป. อกุศล, โทษ, การกระทำผิด
  44. กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
  45. กุญฺจิกาโกสก : ป., นป. กล่องใส่กุญแจ
  46. กุฏีทุสก : ค. ผู้ทำลายกระท่อมหรือรัง
  47. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  48. กุลทุสก : (วิ.) ผู้ประทุษร้ายตระกูล วิ. กุลํ ทุสฺสตีติ กุลทูสโก. ณฺวุ. อถวา, กุลสฺส ทุสโก กุลทูสโก.
  49. กุลทูสก : (ปุ.) กุลทูสกะ เป็นคำเรียกภิกษุ ผู้ประจบคฤหัสถ์ด้วยอาการที่ผิดพระวินัย, ภิกษุประทุษร้ายตระกูล.
  50. โกกาสก : (ปุ.) บัวแดง วิ. เก กาสตีติ โกกาสโก กปุพฺโพ, กาสฺ ทิตฺติยํ, ณฺวุ, อสฺโส
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-195

(0.0631 sec)