Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สึห , then สห, สึห .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สึห, 58 found, display 1-50
  1. สห : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความยินดี, เป็นไปกับด้วยความร่าเริง.
  2. สหเสยฺยา : (อิต.) การนอนกับ, การนอนรวม, การนอนร่วม, การนอนรวมกัน, สหเสยยาบัติ.
  3. สหกร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยมือ
  4. สหจรี : (อิต.) หญิงผู้เที่ยวกัน, ฯลฯ, ภรรยา, ภริยา, เมีย.
  5. สหติ : ก. อดกลั้น, อดทน
  6. สหธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเดียวกัน, สหธรรม.
  7. สหธมฺมิก : (วิ.) ผู้มีธรรมร่วมกัน, ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน, ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยธรรม.
  8. สหปุจฺฉิ : (อิต.) บังโกรยตัวเมีย ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ สีหปุจฺฉาการกุสุมมญฺชริตาย สีหปุจฺฉิ.
  9. สหภู : ค. ซึ่งเป็นอยู่ร่วมกัน
  10. สหลา : ก.วิ.โดยพลัน
  11. สหสา : (อัพ. นิบาต) โดยเร็ว, โดยพลัน, ทันที.
  12. สหเสยฺยาปตฺติ : (อิต.) อาบัติในเพราะอันนอนรวมกัน, อาบัติในเพราะอันนอนร่วมกันกับอนุปสัมมัน.
  13. จิตฺตสหภู : ค. ซึ่งมีพร้อมกับจิต, ซึ่งเกิดร่วมกับจิต
  14. ทุสฺสห : ค. ซึ่งทนได้โดยยาก
  15. ธุรสฺสห : ค. ผู้ทนต่อหน้าที่การงาน, อดทนต่อการงาน
  16. ปริสหติ : ก. องอาจ, กล้าหาญ, อดทน, ปกครอง
  17. ปสหติ : ก. ใช้กำลังรุกราน, ข่มเหง, เบียดเบียน
  18. วิสหติ : ก. อดทน, กล้า, เสี่ยง
  19. สีห : (ปุ.) สิงห์, สิงโต, ราชสีห์. วิ. มิเค หึสตีติ สีโห. หิสี หึสายํ, อ, วณฺณวิปริยาโย. สสุ หึสายํ วา, อีโห, สุโลโป. สหิ สตฺติยํ วา, อ, อสฺสี. มิเค หนฺตํ ุ สํวิชฺชมานา อีหา อสฺสาติ วา สีโห.
  20. อุสฺสหติ : ก. อุตสาหะ, เพียร; อาจ, สามารถ
  21. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  22. คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
  23. สปญฺญ สปฺปญฺญ : (วิ.) ผู้เป็นไปด้วยปัญญา วิ. สห ปญฺญย วตฺตตีติ สปญฺโญ. ผู้มีปัญญา ผู้มีปรีชา. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ.
  24. สภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกัน, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว, ภูมิที่ประชุม, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมกัน, การชุมนุมกัน, การเจรจากัน. วิ. สนฺเตหิ ภาติ ทิปฺปตีติ สภา(ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ). สนฺตปุพฺโพ. ภาทิตฺติยํ, กฺวิ. สนฺตสฺส สาเทโส. สํคมฺม ภนฺติ เอตฺถาติ วา สภา. ภา อาขฺยาเน. สห ภนฺติ ยสฺสนฺติ วา สภา. หโลโป. สพฺพมฺหิ ภาตีติ วา สภา. ส. สภา.
  25. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  26. สมฺโภค : (ปุ.) การกินด้วยกัน, การบริโภคด้วยกัน, การกินร่วม, การร่วมกิน, การร่วมบริโภค, การคบกัน. วิ. สห ภุญฺชนํ อนุภวนํ สมฺโภโค. สหปุพฺโพ, ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, โณ, ชสฺส โค. ส. สมฺโภค.
  27. สมากุล : (วิ.) มัวพะวง. สห+อากุล ลบ หมฺ อาคม.
  28. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  29. สมุทาย : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม. วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทาโย. สห+อุ+อยฺ ธาตุ อ ปัจ. ทฺ อาคม ท่ามกลาง ทีฆะ.
  30. สวก สวงฺก : (ปุ.) กุ้ง วิ. สห วํเกน วงฺเกน วา โย วตฺตเตโส สวํโก สวงฺโก วา. สํวชฺชมาโน วา วํโก วงฺโก วา ยสฺส โส สวํโก สวงฺโก วา.
  31. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  32. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  33. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  34. สหิต : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์เกื้อกูล. สห+หิต.
  35. สเหตุ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเหตุ. วิ. สห เหตุนา โย วตฺตตีติ สเหตุ. แปลง สห เป็น ส ลง ก สกัด เป็นสเหตุก และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  36. สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
  37. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  38. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  39. สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
  40. สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
  41. สาวชฺช : (วิ.) อันเป็นไปกับด้วยโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, อันเป็นไปกับด้วยโทษ, มีโทษ. สห+วชฺช แปลง สห เป็น สา.
  42. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  43. โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
  44. โสม : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์. วิ. กนฺติยา สห วิชฺชตีติ โสโม. สุขํ อภสฺสวตีติ วา โสโม. สุ ปสเว สวเน วา, โม, อุสฺโส. ส. โสม.
  45. อมจฺจ : (ปุ.) อมาตย์, อำมาตย์, ข้าราชการ, ขุนนาง, ข้าเฝ้า, มนตรี, เสนาบดี, เจ้ามณฑล.วิ.สพฺพกิจฺเจสุรญฺญามนฺเตนวาอมา สห ภวตีติอมจฺโจ.อมาศัพท์จฺจปัจ.ส. อมาตฺยอามาตฺย.
  46. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  47. สปริวาร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยบริวาร, มีบริวาร, มีผู้แวดล้อม, มีผู้ห้อมล้อม. วิ.สห ปริวาเรหิ วตฺตตีติ สปริวาโร.
  48. ทาตฺยูห : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. ทาติ อูหติ อุสฺสหตีติ ทาตฺยูโห. ขณฺฑิตทฺธนิอิจฺจตฺโถ. ฎีกาอภิฯ คาถาที่ ๖๔๔. แปลง อิ ที่ ติ เป็น ย รัสสะ อู เป็น อุ เป็นทาตฺยุห บ้าง.
  49. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  50. มหาสหา : (อิต.) บานไม่รู้โรย วิ. มหนฺตมฺปิ กาลํ สหตีติ มหาสหา. บัว, สลัดได, หางจระเข้, หางช้าง ชื่อว่าน.
  51. [1-50] | 51-58

(0.0172 sec)