สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
อุทาหรณ : (นปุ.) การอ้างอิง, การยกขึ้นให้ เห็น, การยกขึ้นมา, การนำขึ้นมา, ตัวอย่าง. วิ. อุทาหรียเต ปกตสฺโสปปาทนายาติ อุทาหรณํ. อุ อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ, ทฺอาคโม. ส. อุทาหรณ.
อุโปคฺฆาต : (ปุ.) อุทาหรณ์, ตัวอย่าง. วิ. อุโปคฺฆเตอเนนาติอุโปคฺฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ ปฏิปาทเน, อ, หนสฺส ฆาโต.
ทิฏฺฐนฺต : (ปุ.) ตัวอย่าง, อุทาหรณ์. วิ. ทสฺสี- ยเต อเนนาติ ทิฏฺฐนฺโต. ทิฏโฐ วา ปกตสฺส อนฺโต ปริสมตฺถิ เยเนติ ทิฏฺฐนฺโต.
กาโกปมา : อิต. เปรียบเหมือนกา, คล้ายกา, มีกาเป็นตัวอย่าง
ปมาณกต : ค. ที่เขาทำให้เป็นประมาณ, ถือเอาเป็นมาตรฐาน, วางเป็นตัวอย่าง, เป็นเครื่องวัด
สาธก : (วิ.) ให้สำเร็จ, อัน...ให้สำเร็จ. สาธฺ สํสิทฺธิยํ, อ. ก สกัด. สาธก ไทยใช้เป็นกิริยาว่ายกตัวอย่างมาให้เห็น.
อนิทสฺสน : ๑. นป. การไม่อธิบาย, การไม่ชี้แจง ;
๒. ค. เห็นไม่ได้, ไม่มีตัวอย่าง
อพฺภุทาหรติ : ก. นำมา, รับมา; ตั้งต้น; แนะนำ, ยกมาเป็นตัวอย่าง
สมตุล : (นปุ.) ความเสมอกัน, ความเท่ากัน, ความพอดีกัน, ความสมส่วนกัน, สมดุล. สม+ตูล.
สมภาคี : (วิ.) มีส่วนเสมอ, ฯลฯ. สม+ภาค+อี ปัจ. ตทัสสตถิตัท.
สมตึส : (อิต.) สามสืบเสมอ, ความสิบครบ, สมดึงส์.
สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
สมสีส : (นปุ.) สมธรรมและศีลธรรม, ธรรมสงบและธรรมเป็นประธาน. ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๑๕.
สม : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ.
สมจริยา : (อิต.) ความประพฤติเรียบร้อย.
สมชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติเสมอกัน, ผู้มีชาติทัดเทียมกัน.
สมตา : อิต. ความเสมอกัน
สมติกฺกมติ : ก. ก้าวล่วง, ผ่านไป
สมติตฺติก : ค. เต็มถึงขอบ
สมติวตฺตติ : ก. ชนะ, ก้าวข้ามไป
สมตึสปารมี : (อิต.) บารมีสามสิบถ้วน, บารมีสามสิบทัศ.
สมตุต : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ฯลฯ, จบ. สํปุพฺโพ อสุ เขปเน, โต, ทฺวิตฺตํ, สุโลโป.
สมตุถ : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, ส. สมรฺถ.
สมนุคฺคาห : (ปุ.) การถือเอาพร้อม, ความถือเอาพร้อม, การถือรวบยอด, ความถือรวบยอด.
สมนุคาหติ : ก. ถือเหตุผล
สมนุญฺญา : อิต. ความเห็นชอบ, ความพอใจ
สมนุปสฺสติ : ก. พิจารณาเห็น, สังเกตเห็น
สมนุยุญฺชติ : ก. ขวนขวาย, ประกอบตาม
สมนุสฺสรติ : ก. ระลึกถึง, นึกออก
สมเปกฺขติ : ก. พิจารณาดี
สมลงฺกต : กิต. ประดับประดาแล้ว, ตกแต่งแล้ว
สมลงฺกโรติ : ก. ประดับประดา, ตกแต่ง
สมวิสม : (วิ.) เสมอและไม่เสมอ, ลุ่มๆดอนๆ.
สมเวกฺขติ : ก. พิจารณา, สอบสวน
อนุรูป : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งรูป, คล้าย, สม, สมควร, เหมาะ, พอเพียง.ส.อนุรูป.
อนุโลมิก : (วิ.) ควร, สม, สมควร, เหมาะ.
อสมนุภาสนฺต : ค. ยังมิได้สวดสมนุภาส, ยังมิได้สวดประกาศ
อสมเปกฺขน : นป., อสมเปกฺขณา อิต. การไม่เพ่งพิจารณา, การไม่ใคร่ครวญ
อุปสม : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปสลบ, ธรรมเป็นที่เข้าไประงับ, การเข้าไปสงบ, การเข้าไประงับ, ความเข้าไปสงบ, ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ. อุปปุพฺโพ, สมฺ อุปสเม, อ.
กตนิสฺสม : ค. ไม่เหน็ดเหนื่อย, กล้าหาญ
กุสม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของหญิง, ระดูของ หญิง. กุสฺ อวหาเณ, อโม.
จตุทฺทสม : (วิ.) ที่สิบสี่ จตุทฺทส + ม ปัจ.
จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
ทุกฺขูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งทุกข์, ความหมดทุกข์
โทสสม : ค. ซึ่งเสมอด้วยโทสะ, ซึ่งเทียบได้กับโทสะ