คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
ทิวสภาค : ป. ส่วนแห่งวัน, เวลากลางวัน
นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
โกฏฐาส : ป. โกฏฐาส, ส่วน, ภาค
โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
ปพฺพตช : (ปุ.) ประเทศอันเกิดแต่ภูเขา, ส่วน อัน เกิดแต่ภูเขา, แม่น้ำ.
ตาราปถ : (ปุ.) ทางแห่งดวงดาว, ทางดาว, กลาง หาว, อากาศ, ท้องฟ้า. วิ. ตารา วุจฺจนฺติ นกฺขตฺตาทโย, ตาสํ ปโถติ ตาราปโถ.
นภากาส : (ปุ.) ฟ้า, ฟากฟ้า, ท้องฟ้า, กลาง หาว, นภากาส, นภากาศ, ส. นภากาศ
จกฺกราสิ : (ปุ.) จักรราศรี คือทางโคจรรอบดวง อาทิตย์ของดาวนพเคราะห์ แบ่งออกเป็น ส่วนเท่าๆ กัน ๑๒ ส่วน เรียก ๑๒ ราศี.
จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
ทฺวย : (วิ.) สอง, สองอย่าง, (ส่วน) ทั้งสอง, มีส่วนสอง. วิ เทฺว อํสา อสฺส ทฺวยํ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙.
สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
มชฺฌฎฐ : (วิ.) ผู้อยู่ในท่าม กลาง. ผู้ดำรงอยู่ในท่าม กลาง. ส. มธฺยสฺถ.
อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
อุปฑฺฒ : (วิ.) กึ่ง, ครึ่ง, ส่วน.
โกฏฐาส : (ปุ.) ส่วน, ลมในท้อง. วิ. โกฏฺเฐ เสตีติ โกฏฺฐาโส.
ขณฺฑิกา : อิต. ส่วน, ชิ้น, ก้อน, กอง; ไม้เท้า
ปฏิวึส, - สก : ป. ส่วน, ส่วนแบ่ง
อสา : อิต. ส่วน, ภาค, การกินอาหาร
กกจขณฺฑ : ป. ขัณฑ์, ส่วนของเลื่อย
กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กณฺณปิฏฐี : อิต. ส่วนบนของใบหู, หลังหู
กณฺณสกฺขลิ, - ลิกา : อิต. ส่วนนอกของหู, หมวกหู
กนฺทร : (ปุ.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
กนฺทรา : (อิต.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
กลมฺพี : อิต. ส่วนหลังของคอ
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.