Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่วนน้อย, ส่วน, น้อย , then นอย, น้อย, สวน, ส่วน, สวนนอย, ส่วนน้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่วนน้อย, 526 found, display 1-50
  1. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  2. พิลโส : อ. โดยส่วน, โดยกอง; เล็กน้อย
  3. องฺคาวยว : (ปุ.) ส่วนต่างๆ แห่งร่างกาย, อังคาพยพ องคาพยพ (ส่วนน้อยและส่วนใหญ่ของร่างกาย).
  4. อนุพฺยญฺชน : (นปุ.) ลักษณะน้อย, ส่วนปลีกย่อย, ส่วนย่อย, การปรากฏเนืองๆ.
  5. อเนก : (วิ.) มิใช่อันเดียว, มิใช่ชนิดเดียว, มิใช่สิ่งเดียว, มิใช่ส่วนเดียว, มิใช่หนึ่ง, มิใช่น้อย, ไม่น้อย, มาก, มากมาย, นับไม่ได้.ส. อเนก.
  6. อสีตฺยานุพฺยญฺชน : (นปุ.) ลักษณะน้อยแปดสิบ, ส่วนย่อยแปดสิบ, อนุพยัญชนะแปดสิบ.
  7. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  8. โกฏฐาส : ป. โกฏฐาส, ส่วน, ภาค
  9. โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
  10. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  11. ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
  12. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  13. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  14. พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
  15. พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
  16. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  17. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  18. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  19. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  20. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  21. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  22. กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ; ๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
  23. ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
  24. ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  25. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  26. จูฬนิก : ค. มีขนาดเล็ก, เล็ก, น้อย
  27. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  28. โถก, โถกก : ค., นป. นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ; สิ่งเล็กๆ น้อย
  29. ทหร : (วิ.) เยาว์, เล็ก, น้อย, หนุ่ม. ส. ทหาร.
  30. พินฺทุ : (วิ.) นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, กลมกล่อม.
  31. มิต : ๑. กิต. นับแล้ว; ๒. ค. พอประมาณ, น้อย
  32. ลหุก : ค. เบา, น้อย
  33. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  34. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  35. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  36. โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
  37. สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
  38. ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
  39. ปพฺพตช : (ปุ.) ประเทศอันเกิดแต่ภูเขา, ส่วน อัน เกิดแต่ภูเขา, แม่น้ำ.
  40. จกฺกราสิ : (ปุ.) จักรราศรี คือทางโคจรรอบดวง อาทิตย์ของดาวนพเคราะห์ แบ่งออกเป็น ส่วนเท่าๆ กัน ๑๒ ส่วน เรียก ๑๒ ราศี.
  41. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  42. ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
  43. ทฺวย : (วิ.) สอง, สองอย่าง, (ส่วน) ทั้งสอง, มีส่วนสอง. วิ เทฺว อํสา อสฺส ทฺวยํ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙.
  44. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  45. เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
  46. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  47. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  48. กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
  49. กณิย กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, หนุ่ม เกิน, น้อย. อิย ปัจ. เสฏฐตัท.
  50. กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-526

(0.0961 sec)